Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 176,012
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,599
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,004
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,809
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,478
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,574
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,528
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,837
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,377
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,464
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,379
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,526
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,615
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,160
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,553
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,573
17 Industrial Provision co., ltd 39,246
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,391
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,311
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,640
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,472
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,871
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,238
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 30,975
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,602
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,530
27 P.D.S. Automation co.,ltd 22,969
28 AVERA CO., LTD. 22,602
29 เลิศบุศย์ 21,703
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,405
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,266
32 แมชชีนเทค 19,910
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,885
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,201
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,155
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,815
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,617
38 SAMWHA THAILAND 18,313
39 วอยก้า จำกัด 17,922
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,497
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,349
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,318
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,260
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,234
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,150
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,088
47 Systems integrator 16,728
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,650
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,472
50 Advanced Technology Equipment 16,461
21/04/2557 10:00 น. , อ่าน 14,098 ครั้ง
Bookmark and Share
ทำไมการสตาร์ทมอเตอร์โดยใช้Soft Starterถึงมีกระแสสูงกว่าใช้Resistance Step?
dastanz
21/04/2557
10:00 น.
ทำไมการสตาร์ทมอเตอร์โดยใช้Soft Starterถึงมีกระแสสูงกว่าใช้Resistance Step
มอเตอร์ที่ใช้เป็นแบบSlip Ring 350Hp
ความคิดเห็นทั้งหมด 42 รายการ | «    1  2  3
ความคิดเห็นที่ 31
Elec_Prew
24/08/2557
23:59 น.
รบกวนท่านช่างเอาสูตรคำนวณค่าแรงบิดที่ได้จากหนังสือเล่มนี้มาดูหน่อยครับ เพราะสูตรที่ท่านช่างพูดถึงในหนังสือ อ.ศุภชัยนี้ไม่สามารถนำมาคำนวณหาค่าแรงบิดได้ครับ สูตรที่ท่านช่างอ้างถึงน่าจะใช้อธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอย่างเดียว และ สูตรในการคำนวณแรงบิดของหนังสือเล่มนี้น่าจะมีอีกสูตร

และผมคิดว่าสูตรในการหาค่าแรงบิดของ อ.ศุภชัย น่าจะเป็นสูตรเดียวกับของผม เพราะในการคำนวณแรงบิดต้องอ้างอิงจากแรงดันแหล่งจ่าย ไม่ใช่ แรงดันเหนี่ยวนำฝั่งโรเตอร์

สุดท้าย ท่านช่างลองหาตัวอย่างการคำนวณแรงบิด และ แรงบิดสูงสุด (pull out torque) ในหนังสือ.ศุภชัย ดูแล้วลองแทนค่าใหม่โดยใช้ R2 = X2 ดูก้อจะพบคำตอบ

ปล. ต้องขอขอบคุณและชื่นชมท่านช่างด้วยที่แสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ ไม่มีอคติ ไม่มีอัตตาเลยครับ
ความคิดเห็นที่ 32
LEKS
28/08/2557
21:02 น.
ช่วยตอบครับ
สมการ Pull out Torque
slip = R2 / sqrt (RTH^2 + (XTH + X2)^2)

สมการนี้ไม่ใช่ขณะสตาร์ทครับ

สมการของ Torque ขณะสตาร์ทคือ
Tst = KxR2/((RTH+R2)^2 + (XTH+X2)^2)
ดิฟสมการแล้วให้เท่ากับ 0 จะได้
RTH^2+XTH^2+2XTHX2+X2^2 = R2^2
ความคิดเห็นที่ 33
LEKS
28/08/2557
21:03 น.
ช่วยตอบครับ
สมการ Pull out Torque
slip = R2 / sqrt (RTH^2 + (XTH + X2)^2)

สมการนี้ไม่ใช่ขณะสตาร์ทครับ

สมการของ Torque ขณะสตาร์ทคือ
Tst = KxR2/((RTH+R2)^2 + (XTH+X2)^2)
ดิฟสมการแล้วให้เท่ากับ 0 จะได้
RTH^2+XTH^2+2XTHX2+X2^2 = R2^2
ความคิดเห็นที่ 34
LEKS
28/08/2557
21:05 น.
ช่วยตอบครับ
สมการ Pull out Torque
slip = R2 / sqrt (RTH^2 + (XTH + X2)^2)

สมการนี้ไม่ใช่ขณะสตาร์ทครับ

สมการของ Torque ขณะสตาร์ทคือ
Tst = KxR2/((RTH+R2)^2 + (XTH+X2)^2)
ดิฟสมการแล้วให้เท่ากับ 0 จะได้
RTH^2+XTH^2+2XTHX2+X2^2 = R2^2

เมื่อ RTH^2+XTH^2+2XTHX2 น้อยกว่า X2^2 มากๆ แล้ว X2=R2 ครับ
ความคิดเห็นที่ 35
LEKS
28/08/2557
21:08 น.
ช่วยตอบครับ
สมการ Pull out Torque
slip = R2 / sqrt (RTH^2 + (XTH + X2)^2)

สมการนี้ไม่ใช่ขณะสตาร์ทครับ

สมการของ Torque ขณะสตาร์ทคือ
Tst = KxR2/((RTH+R2)^2 + (XTH+X2)^2)
ดิฟสมการแล้วให้เท่ากับ 0 จะได้
RTH^2+XTH^2+2XTHX2+X2^2 = R2^2

เมื่อ RTH^2+XTH^2+2XTHX2 น้อยกว่า X2^2 มากๆ แล้ว X2=R2 ครับ
ความคิดเห็นที่ 36
LEKS
28/08/2557
21:23 น.
ขอโทษด้วยครับ ลึมดูว่ามันมี 3 หน้าแล้ว เลยไม่เห็นคำตอบตัวเองก็เลยโพสซ้ำ
ความคิดเห็นที่ 37
LEKS
28/08/2557
21:59 น.
เรามา Discuss กันเรื่อง เงื่อนไขที่ทำให้ X2=R2 ที่บอกว่า RTH^2+XTH^2+2XTHX2 น้อยกว่า X2^2 มากๆ ถูกต้องหรือไม่ดีกว่า

ความคิดเห็นที่ 38
LEKS
29/08/2557
01:19 น.
ลืมดูครับ สมการ Pull out Torque ที่ให้มา ขณะสตาร์ท แทนค่า slip = 1 จะได้
R2=sqrt (RTH^2 + (XTH + X2)^2) ซึ่งจะตรงกับที่ผมลงไว้แล้วกระจ่ายค่า
ความคิดเห็นที่ 39
LEKS
29/08/2557
08:56 น.
แต่ถ้าพิจารณากำลังงานที่ผ่านทางสเตเตอร์ข้ามช่องอากาศเข้าสู่โรเตอร์ (power transfer across air gap)

Pg=KSR2/(R2^2+(SX2)^2)

ขณะสตาร์ทจะเป็น
Pg=KR2/(R2^2+X2^2)

อันนี้แหละครับเงื่อนไขที่ทำให้ Pg มีค่าสูงสุดคือ R2=X2
ความคิดเห็นที่ 40
Elec_Prew
02/09/2557
07:56 น.
สูตร Pg (หรือ Pag) ก้อเป็นสูตรเดียวกันกะท่านช่างครับ เพราะ แรงบิดเหนี่ยวนำ = Pag / wsync
ที่ต้องตอบคือ ERst คงที่หรือ เปลี่ยนแปลงไปตาม R2
ถ้า ERst ไม่เปลี่ยนตาม R2 แรงบิดสูงสุด จะเกิดที่ R2 = X2

แต่ผมไม่คิดว่ามันคงที่ ตามที่ได้อธิบายไปแล้ว

และผมไม่คิดว่ากรณี X2 >> XTH, RTH จะเกิดขึ้นจริงครับเพราะ XTH มีค่าประมาณ X1 ซึ่งโดยปกติจะมากกว่า X2
ความคิดเห็นที่ 41
LEKS
11/09/2557
10:26 น.
จะเห็นว่าเราเริ่มจากสูตรทอร์ก แล้วจะหาสูตรสลิปที่ได้ทอร์กสูงสุดจากการ Diff สูตรทอร์กนั่นเอง

ดังนั้นที่พูดกันอยู่ก็เริ่มจากสูตรทอร์กนั่นเอง เหมือนเราคิดว่าสูตรทอร์กคือตัวตั้งต้น ซึ่งความจริงสูตรทอร์กก็มาจากการประมาณค่า

เมื่อเราศึกษามอเตอร์เหนี่ยวนำโดยใช้วงจรสมมูลย์ของหม้อแปลง เรามีการประมาณค่าใดๆบ้างตั้งแต่ตอนแรก หม้อแปลงไม่มีส่วนที่เคลื่อนไหวเลย มอเตอร์มีการใช้สลิปมาเป็นตัวกำหนดค่าการเปลี่ยนแปลงอย่างเดียวคงไม่ได้ แล้วความคลาดเคลื่อนจากสมการที่ตำราให้มาเรายอมรับมันได้หรือไม่ อย่างตำราของผมก็เขียนบอกว่า "ค่าที่แตกต่างกันมากของแรงบิดตอนเริ่มเดินเครื่องระหว่างค่าที่ได้จากการคำนวณและค่าที่ได้จากการทดสอบอาจเนื่องมาจากความร้อนที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วตอนเริ่มเดินเครื่อง Skin Effect ในขอลวดโรเตอร์ซึ่งทั้งสองอย่างนี้มีผลทำให้ค่าความต้านทานขอโรเตอร์สูงขึ้น การคำนวณใช้ค่าที่ได้จากการออกแบบ ซึ่งอาจจะแตกต่างจากค่าที่มอเตอร์ทำงานจริงๆ นอกจากนั้น Space Harmonics ของฟลั๊กซ์ใจช่องอากาศก็มีผลทำให้ค่าที่ได้ผิดไป สิ่งสำคัญที่สุดที่ทำให้ค่าที่ได้จากการทดสอบแตกต่างจากค่าที่ได้จากการคำนวณมากเนื่องจากผลของการอิ่มตัวของวงจรลี๊กเกจฟลั๊กซ์ ผลอันนี้ทำให้ลี๊กเกจรีแอกแตนซ์ขณะเริ่มเดินเครื่องน้อยกว่าขณะที่มอเตอร์ทำงานปกติ"
ความคิดเห็นที่ 42
Aye
13/06/2558
21:04 น.
ที่ท่าน LEKS เขียนใน กท.41 สรุปว่า X2>> XTH,RTH เป็นจริงทุกกรณีรึป่าวครับ เพราะถ้าจริง Pull out Torque ก้อจะเกิดที่ X2=R2 ทุกกรณี
ความคิดเห็นทั้งหมด 42 รายการ | «    1  2  3
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง: