Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 176,030
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,621
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,019
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,826
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,503
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,587
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,541
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,845
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,404
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,481
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,394
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,543
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,646
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,180
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,591
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,584
17 Industrial Provision co., ltd 39,259
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,405
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,329
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,657
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,492
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,891
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,253
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 30,997
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,620
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,549
27 P.D.S. Automation co.,ltd 22,985
28 AVERA CO., LTD. 22,614
29 เลิศบุศย์ 21,713
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,422
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,283
32 แมชชีนเทค 19,922
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,897
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,213
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,179
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,829
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,629
38 SAMWHA THAILAND 18,332
39 วอยก้า จำกัด 17,941
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,509
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,369
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,343
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,277
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,251
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,162
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,114
47 Systems integrator 16,738
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,668
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,489
50 Advanced Technology Equipment 16,472
30/06/2548 20:01 น. , อ่าน 3,630 ครั้ง
Bookmark and Share
การเลือกออกแบบการสตาร์ทมอเตอร์
chay
30/06/2548
20:01 น.
พอดีสงสัยนิดนึงเรื่องการเลือก Circuit Breaker เพื่อมาป้องกันมอเตอร์ คือว่ามีมอเตอร์ 200HP 380V 3Phase สตาร์ทแบบ Y-Delta เราสามารถเลือก Magnetic , Overload ตาม Catalog อุปกรณ์ไฟฟ้าได้ แต่เมื่อสตาร์ท กระแสจะสูงมากกว่า 600A แต่ตอนใช้งานจริงเดินเครื่อง Full Load เพียง 160A ควรเลือก MCCB ที่มาป้องกันเป็นกี่ A เพื่อเหมาะสม ขอวิชาท่านผู้ร้หน่อยครับ
ความคิดเห็นทั้งหมด 5 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
อาชีวะ
30/06/2548
23:14 น.
การเลือกใช้ CB ควบคุมมอเตอร์ ให้ใช้ 125 เปอร์เซ็นต์ คูณ กระแส Full Load ครับ กระแส 600 A ขณะสตาร์ทเป็นกระแสชั่วขณะ ไม่ทำให้ CB Trip ได้หรอกครับ ท่านลองหาหนังสือการควบคุมมอเตอร์อ่านดูนะครับ มันจะมีวิธีการคำนวณหลายกรณีมาก ขึ้นอยู่กับการใช้งานมอเตอร์ด้วย
ความคิดเห็นที่ 2
ช่างซ่อมมอเตอร์
01/07/2548
10:22 น.
ขอแสดงความคิดเห็นอย่างนี้ครับ<br><br>ในวงจรควบคุมมอเตอร์ด้านเพาเวอร์ เซอร์กิตเบรคเกอร์ออกแบบมาให้ตัดวงจรที่เกิดจากการช๊อตเซอร์กิตของระบบที่อยู่ใต้เซอร์กิตเบรคเกอร์ เป็นหลัก และเป็นแบคอัพ ในการตัดวงจรเมือเกิดการโอเวอร์โหลดของมอเตอร์มากๆแล้วโอเวอร์โหลดไม่ทำงาน แต่เมื่อลองพิจารณาตัวเลขที่คำตอบที่ 1 บออกว่า แอทป์ทริปของเบรคเกอร์จะเป็น 125 เปอร์เซนต์ของกระแสฟูลโหลด ซึ่งเป็นตัวเลขที่เป็นมาตราฐานอยู่ แต่ถ้ามอเตอร์กระแสสูงกว่ามอเตอร์ไปจนถึง 125 เปอร์เซนต์มอเตอร์จะร้อนแค่ไหน ฉะนั้นการตัดวงจรของมอเตอร์คงจะไม่ควรรอจนกระทั่งกระแสไปจนถึง 125 เปอร์เซนต์ของกระแสพิกัดเป็นแน่ ฉะนั้นเบรคเกอร์ไม่ใช่อุปกรณ์หลักในการตัดวงจรเมื่อเกิดการโอเวอร์โหลดของมอเตอร์ แต่จะเป็นแบคอัพ<br><br> ตัวที่เป็นตัวป้องกันโอเวอร์โหลดจริงจะอยู่ที่ โอเวอร์โหลดที่ติดตั้งร่วมกับแมคเนติกซึ่งจะมีพิกัดการทริปอยู่ที่ 100-115 เปอร์เซนต์ของกระแสพิกัด<br><br>ถามว่าแล้วเราควรจะตั้งกระแสทริปของโอเวอร์โหลดเท่าไหร่ดี คงต้องขอตอบว่า ที่ 100 เปอร์เซนต์ของกระแสพิกัด เพราะถ้าเกินกระแสพิกัดแล้วอุณหภูมิของมอเตอร์จะเริ่มสูงขึ้น ซึ่งนั่นก็จะไปมีผลต่ออายุฉนวนของมอเตอร์<br><br>แล้วอาจจะมีคนถามว่าแล้วอีก 15 เปอร์เซนต์มีไว้ทำไม่ ผมเข้าใจเป็นการส่วนตัวว่า น่าจะเป็นตัวเลขที่จะใช้ในกรณี มอเตอร์ใช้งานในสภาวะเต็มพิกัด และเท่าที่ทราบกันอยู่ว่าระบบไฟฟ้าในโรงงาน แรงดันของระบบไฟฟ้าจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งถ้าแรงดันต่ำกว่าแรงดันพิกัด แน่นอนว่ามอเตอร์จะกินกระแสสูงเกินกระแสพิกัด ตัวเลข 15 เปอร์เซนต์น่าจะเป็นตัวเลขที่เกิดจากค่า SF. 1.15 ซึ่งเป็นตัวเลขที่บอกว่ามอเตอร์ใช้งานได้เกินกระแสพิกัดอีก 15 เปอร์เซนต์ แต่อย่างที่ผมกล่าวไปแล้วว่า เมื่อใดที่เราใช้งานเกินกระแสพิกัดเราจะแลกกับอายุการใช้งานของมอเตอร์<br><br>สรุปว่า ถ้าเราใช้งานมอเตอร์ไม่เต็มพิกัดก็ควรเซทโอวเวอร์โหลดไว้ที่ 100 เปอร์เซนต์ แต่ถ้าใช้งานที่โหลดพิกัด ก็ควรเซทโอเวอร์โหลดไว้ที่ 115 เปอร์เซนต์เพราะไม่อย่างนั้นวงจรควบคุมอาจจะทริปบ่อย<br><br>กลับไปที่คำถามนิดนึง เบรคเกอร์คงจะไม่ตัดวงจรออกในขณะสตาร์ท เพราะเบรคเกอร์ถูกออกแบบมาให้มีการหน่วงเวลาการตัดวงจร ซึ่งเวลาที่หน่วงอยู่จะแปรผกผันกับกระแสที่ไหลผ่าน ซึ่งเวลาที่หน่วงนี้จะมากพอที่มอเตอร์จะสตาร์ทออกตัวไปได้และลดค่ากระแสสตาร์ทในที่สุด
ความคิดเห็นที่ 3
chay
01/07/2548
12:19 น.
ขอขอบคุณ คุณอาชีวะ และ ช่างซ่อมมอเตอร์มากครับที่ให้ความรู้
ความคิดเห็นที่ 4
วิศวกร
13/03/2552
17:27 น.
ขอรบกวนผู้ชำนาญช่วยตอบปัญหาให้หน่อยค่ะที่โรงงานมีปัญหาค่ะคือช่วงสตาร์ทมอเตอร์แล้วเข้าสตาร์เดลต้าoverload trip พอไปตรวจสอบพบว่ามอเตอร์ไหม้ มอเตอร์ขนาด 200แรงค่ะเลยไม่ทราบว่าเป็นเพราะอะไรคะ ใครที่เคยเจอแบบนี้ช่วยตอบหน่อยค่ะ
ความคิดเห็นที่ 5
pd_mss@yahoo.com
11/07/2552
12:29 น.
ตั้ง overload สูงเกินไป
ความคิดเห็นทั้งหมด 5 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง: