Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 175,990
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,582
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 172,991
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,787
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,467
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,555
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,512
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,820
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,357
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,451
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,364
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,515
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,595
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,133
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,526
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,557
17 Industrial Provision co., ltd 39,227
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,380
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,298
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,626
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,450
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,854
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,221
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 30,960
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,585
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,517
27 P.D.S. Automation co.,ltd 22,952
28 AVERA CO., LTD. 22,587
29 เลิศบุศย์ 21,687
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,387
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,247
32 แมชชีนเทค 19,896
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,871
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,187
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,141
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,801
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,604
38 SAMWHA THAILAND 18,294
39 วอยก้า จำกัด 17,903
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,481
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,332
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,305
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,242
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,219
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,136
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,070
47 Systems integrator 16,714
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,632
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,458
50 Advanced Technology Equipment 16,445
03/09/2553 13:18 น. , อ่าน 9,514 ครั้ง
Bookmark and Share
หาขนาด air compressor เติม autoclave ครับ
pm
03/09/2553
13:18 น.
รบกวนช่วยหาขนาด air compressor เติม autoclave ดังนี้ครับ

ต้องการเติมลมเข้า tank ขนาด 100 cu.m ให้ได้ 10 bar ภายใน 10 นาที
จะต้องเลือก air-compressor ขนาดไหน และ กี่ bar ครับ

รบกวนด้วยครับ
ความคิดเห็นทั้งหมด 13 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1

04/09/2553
05:21 น.
อัดลมเก็บหรืออัดด้วยใช้ด้วย

factor ไม่เหมือนกันครับ


F.1อัดลมเก็บ อย่างเดียว 100cuM / 10 min
=10cuM/1min



ใช้เครื่องอัดลม



=100hp screwtype 13 bar 10,000 L/min(10 cuM/min x 10 min = 100 cuM)

F.2อัดด้วยใช้ด้วย ให้ไปหา ค่าที่ใช้มาว่า


?cuM/min , Ltr/min
?bar


แล้ว คูณกับ ค่าที่ คาดว่าจะพอใช้งาน


เวลาเดินท่อลม อย่าประหยัด นะครับ ได้ลมมามาก แต่ท่อเล็ก ก็ใช้ไม่พอเหมือนเดิม อิอิ

โทรถามได้ ผมพอมีประสบการณ์ เยอะ

แก่แล้ว เดี๋ยวหายหมด

๙ช่าง ขุนเดช

หรือ

ช่างวรเดช

คนเดียวกัน อิอิ
ความคิดเห็นที่ 2
pm
07/09/2553
13:06 น.
ขอบคุณครับคุณขุนเดช

กรณีของผมเป็นการอัดเก็บ ไม่ได้เอาออกมาใช้ครับ autoclave ก็จะเหมือน receiver tank ลูกหนึ่ง

พอดีผมไปเจอสูตรคำนวณในเว็บในการเติมลมเข้า tank

V = T x P0 x ( Cin - Cout ) / ( P2 - P1 )

V = TANK VOLUME, CUM.
T = cut in/off time , min
P0 = 1.013 BAR,a
P2 = CUT-OFF PRESSURE , BAR
P1 = CUT-IN PRESSURE , BAR
Cin = CAPACITY INTO TANK , CUM./min.
Cout = CAPACITY OUT OF TANK , CUM./min.


ผมลองแทนค่าดู (หาค่า Cin) ได้ออกมา 98.7 cu.m/min (ประมาณ 100 cu.m.min) ใหญ่มากๆๆ
ไม่ทราบว่ากดผิดตรงไหนหรือเปล่า หรือสูตรใช้ไม่ได้ครับ
รบกวนขอคำปรึกษาด้วยครับ
ความคิดเห็นที่ 3

07/09/2553
15:01 น.
เอางี้ แปะ เมล์ ไว้ เดี๋ยวจะบอกให้


ความคิดเห็นที่ 4
pm
07/09/2553
16:46 น.
อีเมล์ผมครับ

u_ukrit@hotmail.com

ขอบคุณครับ
ความคิดเห็นที่ 5
air
11/09/2553
08:14 น.
คุณ PM
V = T x P0 x ( Cin - Cout ) / ( P2 - P1 )

V = TANK VOLUME, CUM.
T = cut in/off time , min
P0 = 1.013 BAR,a
P2 = CUT-OFF PRESSURE , BAR
P1 = CUT-IN PRESSURE , BAR
Cin = CAPACITY INTO TANK , CUM./min.
Cout = CAPACITY OUT OF TANK , CUM./min.

จากสูตรของคุณ แทนด้วยค่าอะไรบ้าง
ที่บอกtank ขนาด 100 cu.m มันใหญ่มาก น้องๆtank รถน้ำมัน

ขนาด กว้างxยาวxสูง ของtank
ความคิดเห็นที่ 6
pm
11/09/2553
11:50 น.
คุณแอร์ครับ

Autocalve เป็นแทงก์ 100 cu.m จริงๆครับ โรงงานเอาไว้ใส่ชิ้นงาน (ใส่ชิ้นงานใหญ่ๆ) แล้ว รักษาสภาวะภายในที่ความดัน 10 bar ทิ้งไว้ 24 ชม ที่โรงงานมีอยู่ 3 autocalve นี่เลยเป็นปัญหาครับ

สูตรที่ผมได้ มาจากการ search ด้วย keyword " time to fill tank" อะไรทำนองนี้ครับ พบหลายเว็บก็จะสูตรได้ประมาณนี้

ตามความเข้าใจผมกระบวนการอัดอากาศเข้าแทงก์ ความดันที่เพิ่มในแทงก์ไม่น่าจะเป็นแบบ linear เมื่อเทียบกับเวลาที่ผ่านไป แต่ตามสูตรคงจะเป็นค่าเฉลี่ยตั้งแต่เริ่มอัดลมจนสิ้นสุดการอัดเข้าแทงก์เมื่อได้ความดันที่ต้องการ

ตาม process ในช่วงที่ autoclave รักษาความดันไว้ 24 ชม ถ้าผมหา tank ขนาดเท่ากับ 100 cu.m มาอัดอากาศรอไว้น่าจะได้ไหมครับ air-comp น่าจะตัวเล็กลงแต่คงต้องอักสัก 20 bar หรือมากกว่านิดหน่อยใช่ไหมครับ

ขอบคุณที่เข้ามาช่วยแชร์ครับ
ความคิดเห็นที่ 7
air
11/09/2553
13:14 น.
ที่โรงงานมีอยู่ 3 autocalve เป็นปัญหาอย่างไร
และตอนนี้มีระบบของปั๊มเป็นอย่างไรใส่ชิ้นงานใหญ่ๆประเภทอะไร
process ในช่วงที่ autoclave รักษาความดันไว้ 24 ชม ระบบคงที่หรือไม่
ต้องการแก้ปัญหาตรงจุดไหน
ความคิดเห็นที่ 8
pm
11/09/2553
15:15 น.
คุณแอร์ครับ

ต้องขอโทษด้วยครับผมสื่อสารผิดไป ที่เป็นปัญหาที่จริงคือ การเลือก capacity ของ air-comp ว่าจะใช้กี่ scfm และความดันเท่าใดจึงจะเหมาะสมกับความใหญ่ของ autoclave และจะต้องเติมลมและรักษาความดัน 10 bar ใน 10 นาทีสำหรับปริมาตร 100 cu.m ครับ

ตามความเห็นที่ 6 ย่อหน้า 4 นั้น เป็นแนวคิดที่จะลดขนาด air-comp โดยสมมติว่าถ้าในขณะที่ autoclave รักษาความดันอยู่นั้น ผมหาแทงก์มาสำรองลมที่ air-comp อัดเข้ามารอไว้เลยก็น่าจะดี พอจะใช้อีกก็ปล่อยเข้า autoclave ไป แต่ค่าแทงก์ก็คงแพงแหละครับ


ชิ้นงานใหญ่ที่ว่านั้นเป็น metal part of vehicle ครับ

การรักษาความดัน autoclave จะคงที่ตลอดการทำงาน 24 ชม หลังจากนั้น depressurize แล้วเอาชิ้นงานออก ใส่ชุดใหม่เข้าไปแล้วเริ่ม pressurize อีกครั้ง เป็น cycle อย่างนี้ครับ

ขอบคุณคุณแอร์มากครับ
ความคิดเห็นที่ 9
air
11/09/2553
16:27 น.
1.การรักษาความดัน autoclave จะคงที่ตลอดการทำงาน 24 ชม ตอนนี้คงที่หรือไม่ ,
มีปัญหาหรือไม่
2.ตอนนี้ขนาดของปั๊มใช้งานอยู่เท่าไร ขนาดท่ออัดเข้าtank และจำนวนปั๊ม
3.ระบบการทำงานการอัดลมของปั๊มเป็นunloading cut in - cut off
pressure เท่าไร
ความคิดเห็นที่ 10
pm
13/09/2553
16:45 น.
คุณแอร์ครับ

1.การรักษาความดัน autoclave จะคงที่ตลอดการทำงาน 24 ชม ตอนนี้คงที่หรือไม่ ,
มีปัญหาหรือไม่
รักษาความดันใน autoclave คงที่ตลอดครับ และไม่มีการนำลมกลับมาใช้อีกเนื่องจากมีสารจำพวก epoxy จะต้อง treat แล้วปล่อยทิ้งไป

2.ตอนนี้ขนาดของปั๊มใช้งานอยู่เท่าไร ขนาดท่ออัดเข้าtank และจำนวนปั๊ม
ขนาดปั้มลม (flow & pressure) และขนาดท่อคือโจทย์ครับ เป็นสิ่งที่ต้องการหาปั้มลมที่เหมาะสมกับการใช้งาน

3.ระบบการทำงานการอัดลมของปั๊มเป็นunloading cut in - cut off
pressure เท่าไร
ตามข้อ 2 ครับ
ความคิดเห็นที่ 11
air
13/09/2553
19:32 น.
ตอบflow & pressureที่เหมาะสม

100 cu.m ให้ได้ 10 bar ภายใน 10 นาที
สามารถใช้แคตตาลอคที่มีได้เลย
ผมมีตัวอย่างแต่เป็นfile jpg.
ต้องส่งเป็นmail
จากตัวอย่างเป็น pump 75 kw ท่อส่ง 2 นิ้ว
ความคิดเห็นที่ 12
air
13/09/2553
20:42 น.
โจทย์ที่ตอบให้เป็นเบื้องต้น
แต่การใช้งานจริงต้องคิดหลายอย่าง
เช่นลมที่ใช้ห้ามมีน้ำมันหรือน้ำหรือไม่
อาจต้องมีระบบตัวอื่นเพิ่มหรือไม่
เช่นตัวดักน้ำหรือน้ำมัน
ความคิดเห็นที่ 13
ปัญญา
06/03/2554
01:34 น.
ได้ความรู้มากเลยครับ
ขอบคุณมากครับ

นิวเมติก
ความคิดเห็นทั้งหมด 13 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง: