Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 176,028
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,621
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,019
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,826
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,502
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,586
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,539
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,845
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,404
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,481
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,394
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,543
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,646
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,180
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,590
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,584
17 Industrial Provision co., ltd 39,259
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,405
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,328
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,657
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,492
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,891
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,252
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 30,997
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,620
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,548
27 P.D.S. Automation co.,ltd 22,985
28 AVERA CO., LTD. 22,614
29 เลิศบุศย์ 21,713
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,422
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,283
32 แมชชีนเทค 19,922
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,897
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,212
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,179
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,829
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,629
38 SAMWHA THAILAND 18,332
39 วอยก้า จำกัด 17,941
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,509
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,369
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,343
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,277
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,251
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,162
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,114
47 Systems integrator 16,737
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,668
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,489
50 Advanced Technology Equipment 16,472
29/10/2550 13:45 น. , อ่าน 3,169 ครั้ง
Bookmark and Share
หลักดิน ของระบบล่อฟ้ากับ ระบบไฟฟ้า
spu
29/10/2550
13:45 น.
หลักดิน ของระบบล่อฟ้ากับระบบไฟฟ้า ปัจจุบันติดตั้งแยกกัน<br>แต่ถ้านำหลักดินของ2ระบบนี้มาประสานศักย์กัน จะเป็นอย่างไร<br>เมื่อเปรียบเทียบกับตอนที่แยกกัน
ความคิดเห็นทั้งหมด 15 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
เล็ก
29/10/2550
19:40 น.
มาตรฐานก็ให้ต่อร่วมกันอยู่แล้วครับ
ความคิดเห็นที่ 2
ช่างไฟ
30/10/2550
11:02 น.
-ตามมาตรฐานแล้วต้องต่อแยกกันตรับ<br>-ถ้าต่อร่วมกันจะมีปัญหากระทบในระบบไฟฟ้าครับ ในเวลาฟ้าลง <br>-ระบบล่อฟ้าจะต้องไม่ต่อสายกราวด์ ลงใต้อาคาร และต้องหางจากตัวอาคารครับ
ความคิดเห็นที่ 3
ชาญณรงค์
30/10/2550
16:05 น.
ปกติให้แยกชุดกันนะครับ ระหว่างชุดของสายล่อฟ้าและระบบกราวด์ไฟฟ้าครับ วิธีการต่อปกติเค้าจะต่อเป็น 3 เหลี่ยม แล้วโยงถึงกัน(ของแต่ละชุดนะ) เมื่อวัดกราวด์แล้วไม่ถึงก็ต้องต่อเป็นอีก 3 เหลี่ยมครับ (แต่ใช้หลัก 5 อัน)
ความคิดเห็นที่ 4
Neo
30/10/2550
17:50 น.
คนที่ไปอบรมเรื่องกราวด์ที่ ว.ส.ท. ก็จะรู้ครับว่าทำไมต้องให้ต่อร่วมกัน และทำไมถึงปลอดภัยกว่าต่อแยก ความรู้บางทีมาจากการคิดเองเออเองมันก็อีกอย่าง
ความคิดเห็นที่ 5
L
30/10/2550
17:52 น.
บางคนก็ยังไม่รู้เลยว่ามาตรฐานให้มีตัวนำกี่ตัวนำ
ความคิดเห็นที่ 6
p
25/11/2550
23:52 น.
ต้องต่อร่วมกันครับผม<br>"equipotential +lightning protection"<br>ลองไป search ใน google ดูนะครับ แล้วจะกระจ่าง ว่าที่อื่นในโลกเค้าต่อกันยังไง วัตถุประสงค์เพื่ออะไร<br><br>
ความคิดเห็นที่ 7
rookie engi.
26/11/2550
17:05 น.
-*- ถ้าเป็นสิ่งก่อสร้างเล็กๆ เห็นมันบอกให้ต่อแยก แต่ถ้าอาคารสูง ระบบกราวด์มันเป็น loopสามเหลี่ยม โดยลิงค์ถึงกันหมดรอบอาคาร ให้ต่อระบบแยกทั้งกราวด์ระบบ กราวด์เครื่องมือ กราวด์สื่อสาร แล้วก้ป้องกันฟ้าผ่า มาที่ลูปข้างนอกจะดีกว่า .. แต่มีสามัญ 2 คนตอบผมว่า ตามทฤษฏีให้แยกแค่ระบบกราวด์ กะ ระบบป้องกันฟ้าผ่าแยกกันมาที่ loop ข้างนอกที่ลิงค์กันก้ได้ เพราะ มันจะมีผลในการป้องกันเมื่อฟ้าผ่า โดยที่กราวด์ก็ต้องใส่ impedance และ surge arrestor ป้องกันไว้ก็จะเป็นการดี <br><br>ถ้าพี่ๆ ที่มีประสบการณ์ช่วยอ้างอิงทฤษฏี ก็จะดีมากคับ
ความคิดเห็นที่ 8
Intania81
03/07/2551
22:53 น.
(I think) it should be equipotential bonding.<br>If separated, there will be gradient between two grounding system which could lead to flashover or even electric shock.<br>If not separated, overvoltage could be found on electric equipment. Hence, SPD should be considered to install.
ความคิดเห็นที่ 9
สมชาย
15/10/2551
16:17 น.
วงจรการติดตั้ง
ความคิดเห็นที่ 10
เธŠเนˆเธฒเธ‡เธ—เธตเธงเธต
29/07/2552
21:29 น.
เนƒเธ™เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเนƒเธซเน‰เธ•เนˆเธญเธฃเธงเธกเธเธฑเธ™ เนเธ•เนˆเนƒเธ™เธ—เธฒเธ‡เนƒเธŠเน‰เธ‡เธฒเธ™เธˆเธฃเธดเธ‡เธกเธตเธญเธ‡เธ„เนŒเธ›เธฃเธฐเธเธญเธšเธซเธฅเธฒเธขเธญเธขเนˆเธฒเธ‡เน€เธŠเนˆเธ™ เธฃเธฐเธ”เธฑเธšเธ„เธงเธฒเธกเธชเธนเธ‡เธ‚เธญเธ‡เธžเธทเน‰เธ™เธ”เธดเธ™เธญเธฒเธ„เธฒเธฃ เธ„เธงเธฒเธกเธซเนˆเธฒเธ‡เธ‚เธญเธ‡เธญเธฒเธ„เธฒเธฃ เธฏเธฅเธฏ เธ–เน‰เธฒเธซเนˆเธฒเธ‡เธเธฑเธ™เธกเธฒเธเน†เน„เธกเนˆเธ„เธงเธฃเธ•เนˆเธญเธฃเธงเธกเน€เธžเธฃเธฒเธฐเธชเธฒเธขเธ—เธตเนˆเธ•เนˆเธญเธฃเนˆเธงเธกเธˆเธฐเน€เธ›เน‡เธ™เธ•เธฑเธงเน€เธซเธ™เธตเนˆเธขเธงเธ™เธณเน€เธ‚เน‰เธฒเธกเธฒเนƒเธ™เธฃเธฐเธšเธšเธฏ เธซเธฃเธทเธญเน€เธชเน‰เธ™เธ—เธฒเธ‡เธ—เธตเนˆเธชเธฒเธขเธ•เนˆเธญเธฃเนˆเธงเธกเธ•เน‰เธญเธ‡เธœเนˆเธฒเธ™เธญเธธเธ›เธเธฃเธ“เนŒเธšเธญเธšเธšเธฒเธ‡เธกเธตเน‚เธญเธเธฒเธจเน€เธซเธ™เธตเนˆเธขเธงเธ™เธณเนƒเธซเน‰เธญเธธเธ›เธเธฃเธ“เนŒเธ™เธฑเน‰เธ™เน†เน€เธชเธตเธขเธซเธฒเธข เนเธ•เนˆเธ–เน‰เธฒเธกเธฑเนˆเธ™เนƒเธˆเธฃเธฐเธšเธšเธเธฃเธฒเธงเธ”เนŒเน€เธฃเธฒเธ”เธตเธˆเธฃเธดเธ‡เธ„เธงเธฃเธ•เนˆเธญเธฃเนˆเธงเธกเธ„เธฑเธš<br>เนเธ•เนˆเนƒเธ™เธžเธทเน‰เธ™เธ—เธตเนˆเธšเธ™เธ เธนเน€เธ‚เธฒเธชเนˆเธงเธ™เนƒเธซเธเนˆเธฃเธฐเธšเธšเธเธฃเธฒเธงเธ”เนŒเน„เธกเนˆเธ”เธตเธˆเธฃเธดเธ‡ เธฏเธฅเธฏ เธญเธขเธฒเธเนƒเธซเน‰เธฃเธญเธ‡เธžเธดเธˆเธฒเธฃเธ“เธฒเธ”เธนเธ™เธฐ เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธฃเธฐเธšเธšเธเธฃเธฒเธงเธ”เนŒเธ™เธตเน‰เน€เธ‚เน‰เธฒเนƒเธˆเธญเธขเธฒเธเธชเธฑเธเธ™เธดเธ”
ความคิดเห็นที่ 11
ทีวี
29/07/2552
21:33 น.
แล้วแต่องค์ประกอบนะ<br>
ความคิดเห็นที่ 12
ต่อ
30/07/2552
11:54 น.
พะนรำพัตรนิไรภตึไคถ/ถุ
ความคิดเห็นที่ 13
คนขี้สงสัย
01/02/2553
16:01 น.
ผมว่าการที่จะต่อแยกกันหรือรวมกันนั้นมันต้องขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลายๆอย่าง<br>แต่โดยส่วนใหญ่มักจะต่อแยกกันนะครับเพราะถ้าเกิดฟ้าผ่ามันจะส่งผลต่อระบบได้
ความคิดเห็นที่ 14
คนขี้สงสัย
01/02/2553
16:04 น.
ถ้าจะให้แน่ใจก็ลองไปเปิดดูในหนังสือของ อาจารย์ประสิทธิ์นะครับ
ความคิดเห็นที่ 15
เวนิส พุทธกาล
25/04/2555
23:06 น.
ต้องต่อร่วมเป็นจุดเดียวกัน เพราะความต้านทานจะได้เท่ากัน ไม่เกิดความต่างศักด์ กระแสจะไม่ไหลจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง เหมือนอยู่บนเรือลำเดียวกัน น้ำขึ้นน้ำลงก็ขึ้นลงพร้อมกัน เหมือนความต้านทานจะเพิ่มหรือลด ค่าโอห์มเท่ากันตลอด
ความคิดเห็นทั้งหมด 15 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง: