Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 176,010
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,599
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,002
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,808
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,477
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,569
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,527
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,835
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,370
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,462
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,378
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,526
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,609
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,155
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,547
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,569
17 Industrial Provision co., ltd 39,240
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,390
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,310
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,637
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,465
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,868
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,235
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 30,975
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,600
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,529
27 P.D.S. Automation co.,ltd 22,967
28 AVERA CO., LTD. 22,600
29 เลิศบุศย์ 21,701
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,401
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,264
32 แมชชีนเทค 19,906
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,881
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,198
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,153
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,812
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,616
38 SAMWHA THAILAND 18,310
39 วอยก้า จำกัด 17,917
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,493
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,347
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,317
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,256
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,232
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,149
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,088
47 Systems integrator 16,725
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,643
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,469
50 Advanced Technology Equipment 16,460
16/01/2553 13:19 น. , อ่าน 7,185 ครั้ง
Bookmark and Share
โรงไฟฟ้าบางปะกง
โดย : Admin

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

 

โรงไฟฟ้าบางปะกง (Bangpakong Powerplant) เป็นโรงไฟฟ้าพลังความร้อนและพลังความร้อนร่วมของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย จัดเป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้ก๊าซธรรมชาติจากอ่าวไทยแห่งแรกประกอบด้วยโรงไฟฟ้าพลังความร้อน จำนวน 4 เครื่อง(Thermal)และโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม(Combine)จำนวน 4 เครื่องรวมกำลังผลิตทั้งหมด 3,680,000 กิโลวัตต์ เป็นแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าขนาดใหญ่ของประเทศไทย[1]
โรงงานบางประกง

 
สถานที่ตั้ง
โรงไฟฟ้าบางปะกง ตั้งอยู่บริเวณริมฝั่งทางด้านซ้ายของแม่น้ำบางปะกงในเขตจังหวัดฉะเชิงเทราเป็นโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่บนเนื้อที่ 1,050 ไร่[2]ตัวโรงไฟฟ้าอยู่ห่างจากบริเวณปากแม่น้ำบางปะกง ย้อนขึ้นมาตามลำน้ำด้วยระยะทางประมาณ 11 กิโลเมตร อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 69 กิโลเมตร

 
ประวัติ
โรงไฟฟ้าบางปะกง เริ่มดำเนินการก่อสร้างภายในปีพ.ศ. 2520 ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นการตอบรับและสนองนโยบายของรัฐบาลในขณะนั้นที่ต้องการพัฒนาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติภายในประเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุด แบ่งเป็นโรงไฟฟ้าพลังความร้อนและโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมดำเนินการก่อสร้าง 2 ระยะ คือระยะเวลาช่วงที่ 1 ในปีพ.ศ. 2520 ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นการก่อสร้างโรงไฟฟ้าบางปะกงและระยะเวลาช่วงที่ 2 ในปีพ.ศ. 2530 - พ.ศ. 2531

 
กำลังผลิต
โรงไฟฟ้าบางปะกงมีการผลิตกระแสไฟฟ้าที่ประกอบไปด้วยโรงไฟฟ้าพลังความร้อน จำนวน 2 เครื่องกำลังผลิตกระแสไฟฟ้าชุดละ 550,000 กิโลวัตต์ และโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม จำนวน 2 ชุด กำลังผลิตกระแสไฟฟ้าชุดละ 370,000 กิโลวัตต์กำลังผลิตของโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมในแต่ละชุดประกอบไปด้วยเครื่องแก๊สเทอร์ไบน์สำหรับผลิตกระแสไฟฟ้า กำลังผลิตขนาด 60,000 กิโลวัตต์ จำนวน 4 เครื่องซึ่งสามารถใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติและน้ำมันดีเซลในการผลิตกระแสไฟฟ้าและเครื่องผลิตไฟฟ้ากังหันไอน้ำ กำลังผลิต 130,000 กิโลวัตต์ จำนวน 1 เครื่อง

 
โรงไฟฟ้าบางปะกงระยะเวลาช่วงที่ 1 ทำการก่อสร้างแล้วเสร็จในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2527 รวมกำลังผลิตกระแสไฟฟ้าในระยะแรกของการก่อสร้างทั้งสิ้น 1,890,000 กิโลวัตต์ทำพิธีเปิดโรงไฟฟ้าบางปะกงอย่างเป็นทางการโดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ในวันที่8 มกราคม พ.ศ. 2528 และดำเนินการก่อสร้างโรงไฟฟ้าบางปะกงระยะเวลาช่วงที่ 2 ในปีพ.ศ. 2530 - พ.ศ. 2531 ซึ่งในขณะนั้นภาวะทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ได้มีการขยายตัวอย่างสูงทำให้ปริมาณการใช้กระแสไฟฟ้าเพิ่มจำนวนมากขึ้นกว่าที่ทางการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้คาดการณ์การก่อสร้างในช่วงระยะเวลาที่ 2 เอาไว้
 
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยจึงเร่งวางแผนในการพัฒนาและเพิ่มแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของประเทศชาติ ในด้านความต้องการในการใช้กระแสไฟฟ้ารวมทั้งเป็นการเพิ่มความมั่นคงให้แก่ระบบการผลิตกระแสไฟฟ้าในประเทศไทยโรงไฟฟ้าบางปะกงในช่วงระยะเวลาที่ 2 โดยได้รับการอนุมัติโครงการการก่อสร้างจากคณะรัฐมนตรีและคณะกรรมการพัฒนาการทางเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ดำเนินการก่อสร้างในวันที่16 พฤษภาคม พ.ศ. 2531 และเริ่มดำเนินการก่อสร้างในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2531 เป็นต้นไป

 
โรงไฟฟ้าบางปะกงระยะเวลาช่วงที่ 2 ประกอบด้วยโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมเครื่องที่ 3 - 4 กำลังผลิตขนาด 600,000 กิโลวัตต์

 

 

ขอขอบคุณทุกๆที่มาของแหล่งข่าว

========================================================