Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 176,703
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,105
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,390
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,379
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,858
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,967
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,941
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,201
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,057
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,765
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,709
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,910
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,244
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,713
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,096
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,987
17 Industrial Provision co., ltd 39,774
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,735
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,641
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,979
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,914
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,266
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,678
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,409
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,912
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,905
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,278
28 AVERA CO., LTD. 23,010
29 เลิศบุศย์ 21,999
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,761
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,658
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,265
33 แมชชีนเทค 20,258
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,516
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,480
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,230
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,900
38 SAMWHA THAILAND 18,677
39 วอยก้า จำกัด 18,337
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,911
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,755
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,680
43 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,672
44 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,610
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,532
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,530
47 Systems integrator 17,093
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,042
49 Advanced Technology Equipment 16,863
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,834
29/01/2553 11:18 น. , อ่าน 19,873 ครั้ง
Bookmark and Share
มีหลักการในการทำ โก โนโก อย่างไรครับ
QC
29/01/2553
11:18 น.
คือมีชิ้นส่วนนึง มี ขนาดที่กำหนด Diameter16 +0.018 -0<br><br>เราต้องทำขนาดด้านโกเท่าไหร่ครับ<br>และด้านโนโกเท่าไหร่ครับ<br>
ความคิดเห็นทั้งหมด 30 รายการ | 1  2    »
ความคิดเห็นที่ 1
cnc ลาดพร้าว
29/01/2553
14:54 น.
GO -+0~0.018 <br>nogo +0.02
ความคิดเห็นที่ 2
Rociel
30/01/2553
01:19 น.
ไม่ได้บอกมาว่าเป็นรูหรือเพลาแต่ถ้ากำหนดขนาดแบบนี้คิดว่า<br>ชิ้นงานที่ต้องการตรวจสอบเป็นรูก็แล้วกัน<br>และขอตอบแบบงูๆ ปลาๆ นะครับเพราะยังไม่ได้เรียนเรื่องนี้มา<br>รูต้องไม่ใหญ่กว่า 16.018 และต้องไม่เล็กกว่า 16.000 งานถึงจะเป็นของดีครับ<br>ด้าน Go ก็ทำให้ได้ในช่วงประมาณ 16.000-16.005<br>ด้าน NoGo ก็ทำให้ได้ในช่วงประมาณ 16.013-16.018<br>ถ้าบีบค่าพิกัดความเผื่อให้ได้ช่วงที่แคบลงได้ก็จะยิ่งดีครับ
ความคิดเห็นที่ 3
Rociel
30/01/2553
02:31 น.
ขอโทษครับข้างบนผิดไป ต้องเป็น<br>ด้าน Go ก็ทำให้ได้ในช่วงประมาณ 16.00000-16.00051<br>ด้าน NoGo ก็ทำให้ได้ในช่วงประมาณ 16.01749-16.01800
ความคิดเห็นที่ 4
QC
30/01/2553
10:18 น.
ตอนนี้ที่ทดลองทำ Plug gauge ครับ<br>มีปัญหาดังนี้ครับ<br>1.ด้าน Go ให้ขนาดที่ 15.995<br>2.ด้าน NO Go ให้ขนาดที่ 16.007<br><br>งานที่ทำเป็นรูครับ<br>เมื่อนำด้าน No Go มาสวมปรากฏว่าสามารถสวมได้ครับ<br>คือใส่ได้ด้วยแรงนิดนึง<br>เมื่อนำงานมาตรวจก็พบว่างานมีขนาด 16.021<br>เมื่อทดลองทำ No Go มีขนาด 16.021<br>เมื่อนำมาสวมปรากฏว่าสวมไม่เข้า<br><br>เลยสงสัยว่ามีหลักการยังไง<br>เพราะพิกัดสวมคลอนสุดท้ายอยู่ที่ ก็<br>H7/h6<br>รูเล็กสุดที่ +0 เพลาโตสุดที่ +0<br><br>เพราะพิกัดสวมพอดีอยู่ที่ ก็<br>H7/j6<br>รูเล็กสุดที่ +0 เพลาโตสุดที่ +8
ความคิดเห็นที่ 5
QC
30/01/2553
10:22 น.
เพราะถ้ามองตามระบบแล้ว <br>H7/h6<br>รูเล็กสุดที่ +0 เพลาโตสุดที่ +0<br>น่าจะสวมเข้าได้ เพราะอยู่ในช่วงสวมคลอน<br>แต่นี้สวมไม่ได้<br>และปัญหาที่ตามมาอีกคือเรื่องแรงที่ใช้ในการสวมของแต่ละคนไม่เท่ากัน<br>
ความคิดเห็นที่ 6
QC
30/01/2553
12:04 น.
ตามคห 3 นั้นคือใช้ตามกฏ 1/10 ใช่ไหมครับ
ความคิดเห็นที่ 7
QC
30/01/2553
12:08 น.
แล้วค่าที่ คห 3 ยกมา<br>เป็นระดับ xx<br>แล้วเราจะเลือกใช้ยังไง<br>xxx <br>xx<br>x<br>y<br>z<br>zz
ความคิดเห็นที่ 8
Rociel
30/01/2553
16:25 น.
ครับใช้กฎ 1:10 จะคำนวณได้ค่า Accuracy ของเครื่องมือวัดที่ต้องการได้ 0.0009<br>แล้วเอาไปใช้เปรียบเทียบกับ Tolerance Chart ที่ Diameter Range ใช้งาน<br>จะได้ค่าตามมาตราฐานที่ Class XX ครับ<br><br>รูต้องไม่ใหญ่กว่า 16.018 และต้องไม่เล็กกว่า 16.000 งานถึงจะเป็นของดีครับ<br>ถ้าคิดแบบ Nominal อย่างเดียว<br>ด้าน Go ต้องใหญ่เท่ากับ 16.000 และด้าน NoGo ต้องใหญ่เท่ากับ 16.018<br><br>จาก คห. 4 และ 5<br><br>1. ทำ Go = 15.995, NoGo = 16.007 <br> - ทำออกมาแบบนี้จะใช้ไม่ได้เพราะว่าโอกาสที่จะเจองานเสียจะเกิดขึ้นได้จากช่วง 15.995-16 และงานดีจะถูก Reject ไปในช่วง 16.007-16.018<br><br>2. ทำ NoGo ขนาด 16.007 สวมเข้าด้วยแรงคน (โดยไม่ต้องใช้สารหล่อลื่น) ก็น่าจะเป็น Sliding Fit H7/g6 ช่วงนี้เกิด Min. Gap ได้เต็มที่ 6 ไมครอน แสดงว่า รูเล็กสุดได้เต็มที่น่าจะขนาด 16.013 ครับ<br><br>3. ตรวจขนาดที่งานได้ 16.021 และต่อมาแก้ไขที่ NoGo อีกรอบให้มีขนาด 16.021 ปรากฎว่าสวมไม่เข้า<br> - ผมว่าไม่แปลก<br><br>* สวมคลอนนี่ต้องใช้ค้อนเคาะ ไปจนถึงแรงดันอัดนะครับ ใช้แรงคนไม่ได้ และการตรวจสอบขนาดด้วย Plug gage<br>ที่ถูกต้องจริงๆแล้วห้ามใช้แรงดันครับจะใช้แค่น้ำหนักมือสวมเข้าไป<br><br>ดูๆ ไปแล้วปัญหาอาจเกิดที่การวัดด้วยนะครับ
ความคิดเห็นที่ 9
QC
30/01/2553
17:28 น.
* สวมคลอนนี่ต้องใช้ค้อนเคาะ ไปจนถึงแรงดันอัดนะครับ ใช้แรงคนไม่ได้ และการตรวจสอบขนาดด้วย Plug gage<br>ที่ถูกต้องจริงๆแล้วห้ามใช้แรงดันครับจะใช้แค่น้ำหนักมือสวมเข้าไป<br><br>---------------------------------<br>ครับจากตรงนี้ผมยิ่งสงสัยครับว่า<br>ถ้าห้ายใช้แรงในการตรวจสอบ <br>แล้วที่ว่า งานสวมคลอนต้องใช้ค้อนเคาะจนถึงใช้แรงอัด<br>แล้วมาดูว่า <br>อย่าง Go ต้องอยู่ที่ 16.0000-16.000051<br>และ No Go ต้องอยู่ที่ 16.01749-16.01800<br><br>ช่วง No Go 16.01749-16.01800 นั้นอยู่ในพิกัด สวมคลอนครับ แต่ถ้าสวมคลอนต้องออกแรง นี้ก้ผิดกับหลักการตรวจสอบด้วย Plug gauge แล้วสิครับ<br><br>ที่ผมบอกว่า เกจแรกที่ทำ อยู่ที่ 16.007 เข้าได้ด้วยการใช้แรงกด ซึ่งจริงๆแล้วมันมากกว่าพิกัด 1/10 ครับ<br>ผมเลยสงสัยครับ ว่าถ้าทำตามพิกัดแล้วมันจะเข้ายังไง 16.01749 <br>เพราะใช้ 16.007 ยังต้องออกแรง แล้วขนาดที่วัดได้ก็มากกว่า 16.007 ซึ่งได้ขนาด 16.021<br><br>อันนี้ที่ งง ครับ
ความคิดเห็นที่ 10
QC
30/01/2553
17:39 น.
ส่วนการวัดนี้ใช้ บอร์เกจวัดครับสำหรับรูครับ<br>ส่วนเกจใช้ ไมดครมิเตอร์วักครับ <br><br>แล้วถ้ามองที่การวัดปัญหาที่สามรถเป็นตัวแปรได้มีอะไรบ้างครับ<br><br>1.การสอบเทียบ ซึ่งผม สอบเที่ยบพร้อมกันเลยครับที่เดียวกัน<br>2.คนวัด ผมใช้คนเดียวกันครับ<br>3.อุณภูมิ ใช่ที่ 27 ครับ<br>
ความคิดเห็นที่ 11
QC
30/01/2553
17:46 น.
จาก คห.8<br>2. ทำ NoGo ขนาด 16.007 สวมเข้าด้วยแรงคน (โดยไม่ต้องใช้สารหล่อลื่น) ก็น่าจะเป็น Sliding Fit H7/g6 ช่วงนี้เกิด Min. Gap ได้เต็มที่ 6 ไมครอน แสดงว่า รูเล็กสุดได้เต็มที่น่าจะขนาด 16.013 ครับ<br><br>***********************************<br>ไม่ครับขนาดที่เช็คได้รูอยู่ที่ 16.021ครับ<br>ซึ่งมันเกินพิกัด 16.000 +0.018 ครับ<br>แต่ว่าการสวมมันออกแรงแล้วครับ<br>
ความคิดเห็นที่ 12
Rociel
30/01/2553
19:21 น.
คือว่าต้องแยกเรื่องการตรวจสอบขนาดรูกับเรื่องพิกัดงานสวมครับ มันคนละเรื่องกันเลย<br>เพราะพิกัดงานสวมเป็นการกำหนดค่าเป็นช่วงไว้เพื่องานประกอบเพื่อการใช้งาน<br>Plug gage เป็นเครื่องมือวัดตัวหนึ่ง เพื่อการตรวจสอบก็เหมือนกับการตรวจสอบด้วย Bore gage<br>เพียงแต่ว่าจุดประสงค์ในการใช้ไม่ได้เอามาหาขนาดที่เป็นตัวเลข แต่เพียงเพื่อให้รู้เฉยๆ ว่า<br>รูที่ทำออกมาขนาดมันอยู่ในช่วงที่เป็นของดีหรือไม่เท่านั้นครับ<br><br>การวัดรู ต้องวัดแบบ Mating Size คือ ถ้าจะเอาเป๊ะๆ ต้องวัดด้วย Pin Gage รองลงมาก็เป็น CMM<br>เพราะความตรงของรูมีผลกับขนาด ความเรียบของรูก็มีผลกับขนาด<br>ใช้ Bore gage มันวัดได้ทีละ Cross Section บอกไม่ได้เป๊ะๆ ครับ<br>ส่วนการวัด Plug Gage ก็ต้องตรวจสอบเรื่องผิว, ความกลมและความตรงครับ อาจใช้ Dial gage
ความคิดเห็นที่ 13

31/01/2553
03:09 น.
อิ อิ ตามที่ Rociel คิด นะ ใกล้ เคียง แต่ การทำ เกจ โก โนโก <br>จะไม่ได้ใช้ กฏ 1:10 <br>ต้องไปดู ค่าพิกัดงานสวมด้วย <br><br>แต่ การนำ ค่า H7 / h7 ตามเจ้าของกระทู้ มาว่า ก็ถือว่าผิด <br>ความจริง ต้องไปดูค่าใน IT No. <br><br>ดังนั้น เมื่อ จขกท. ไปทำ เกจ ขนาด 16.007 มาสวมงาน แล้ว วัดได้ 16.021 ผลของความต่างคือ 0.014 <br><br>ความหมายคือ พนง. ของ จขกท รับรู้ ความรู้สึกด้านพอดี อยู่ ประมาณ 0.01 - 0.014 <br><br>ดังนั้น หาก จขกท ต้องการควบคุมระบบ ในอยู่ ในช่วงที่ต้องการ ท่านก็ เอาค่าที่ เล็กที่สุด มา บวก-ลบ กับ ขนาด ต่ำสุด และ สูง สุด ตามแบบ <br><br>อย่า ไปเอาค่า จาก ตาราง H7/h7 หรือ H7/g6 หรือ H7/j6<br>ตามที่พวกท่านคิดมาใช้ <br><br>สิ่งที่ พวกท่านต้องทำ คือ ไปอ่าน มาตรฐาน ของการทำ เกจสวม ซึ่งเขาจะอธิบาย ต่างหาก ต่างจาก การนำค่า เกณฑ์ความคลาดเคลื่อน ( ค่าพิกัดเผื่อ) <br><br>เพราะ มันคงละเรื่องกัน <br><br>ต้อง ขออภัยที่ ไม่มีเวลา เปิด ตาราง STD เพื่อหาค่าจริงให้พวกท่านได้ ในคืนนี้ <br>เพราะ เพิ่งกลับ จากภาระกิจ สอน อ. จาก อาชีวะ <br>และ ยังมีต่อเนื่องอีก <br><br>ลอง ถอย คนละก้าว แล้ว กลับ ไปอ่าน มาตรฐาน ของการทำ ปลั๊กเกจ ริงเกจ ใหม่ นะ ( ทั้ง คู่ เลย ล่ะ )
ความคิดเห็นที่ 14
Rociel
31/01/2553
05:23 น.
จารย์สืบครับ เข้ามาต่อแล้วต้องเอาให้จบนะ<br>ผมรออ่านอยู่
ความคิดเห็นที่ 15
QC
01/02/2553
10:22 น.
ขอบคุณ ทั้งสองท่านครับที่ช่วยตอบ<br>น่าเสียดายนะครับ<br>เวบตรวจกรองคำสุภาพ บาครั้งพิมพ์ภาษาอังกฤษไม่ได้เลย<br>และลงรูปไม่ได้<br>ถ้าได้น่าจะดีครับเพราะจะเข้าใจง่ายกว่าเขียนเป็นตัวอักษร<br><br>เดียวผมแปลก่อนแล้วคุยอีกทีครับ<br>
ความคิดเห็นทั้งหมด 30 รายการ | 1  2    »
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง: