31/08/2552 23:04 น. |
<br>รายละเอียด Details: <br>เรียนที่ เคทีเพลส ประตูไผ่ล้อม<br>รับสอน AUTO CAD เชียงใหม่ และรับเขียนแบบโปรเจ็ค <br>สอนจากประสบการณ์จริง สอนโดยวิศวกรมืออาชีพ ถูกต้องตามมาตรฐานสากล เรียนตัวต่อตัว หรือหมู่คณะ สามารถเลือกเวลาเรียนได้ ผู้ที่เขียนไม่เป็นเลยสามารถทำงานได้อย่างมืออาชีพ นักศึกษาจบใหม่อยากได้งานทำต้องเขียนแบบด้วย Auto CAD ให้เก่ง เทคนิคมากมายที่พร้อมจะถ่ายทอดสู่ผู้เรียน... <br><br>แบบที่ 1 พื้นฐานเขียนแบบวิศวกรรม 40 ชั่วโมง <br>เหมาะสำหรับผู้ที่ไม่มีพื้นฐานเลย แต่ต้องการเขียนแบบมืออาชีพ พื้นฐานเน้นเทคนิคการเขียนภาพ ภาพฉาย การกำหนดขนาด มาตรฐานงานเขียนแบบ ผู้ต้องการเลื่อนขั้นการทำงาน <br><br>แบบที่ 2 เขียน 3 มิติ 40 ชั่วโมง <br>เหมาะสำหรับผู้ที่มีพื้นฐานเน้นเทคนิคการเขียนภาพ 3 มิติ เข้าใจระบบแกนในการวางภาพ เพื่อนำไปประยุกต์สู่งาน 3D animation <br><br>พิเศษสุดๆ <br>****เรียน 2 คน รับส่วนลด 10% <br>****เรียน 3 คน รับส่วนลด 15% <br>****รับเขียนแบบโปรเจ็ค ต่างๆ งานส่วนตัว เครื่องจักร หรือ โปรเจ็คนักศึกษา โทรคุยกันได้ครับ <br><br>สนใจติดต่อ คุณโฟม <br><a href="mailto:foammgear31@hotmail.com" Target="_BLANK">foammgear31@hotmail.com</a> <br><br>เนื้อหาหลักสูตรโดยย่อ : <br><br>1) จัดพื้นที่หน้าจอในการทำงาน, กำหนดรูปแบบและลักษณะ Crosshair <br>2) ควบคุมปุ่มเม้าส์และคีย์บอร์ด คีย์ลัด ในการสร้างแบบ <br>3) กำหนดหน่วยวัดและความละเอียดค่าระยะในการทำงาน <br>4) กำหนดและใช้งาน Object Snap , Ortho , Polar <br>5) ใช้ชุดคำสั่ง Draw ชนิด Line ในการสร้างเส้นชนิดแยกส่วนประกอบ <br>....ทั้งแบบใช้ค่าระยะและพิกัดอ้างอิง <br>6) ใช้ชุดคำสั่ง Draw ชนิด PolyLine สร้างเส้นชนิดเส้นต่อเนื่องเป็นชิ้นเดียว <br>7) ใช้ชุดคำสั่ง Draw ชนิด MultiLine ในการสร้างเส้นคู่แบบต่อเนื่อง ทั้งแบบ <br>... ใช้ค่าระยะและพิกัดอ้างอิง <br>ใช้ชุดคำสั่ง Draw ชนิด Rectangleสร้างรูปสี่เหลี่ยมแบบใช้ค่าระยะและพิกัด <br>9) ใช้ชุดคำสั่ง Modify ชนิด Offset สำเนาเส้นแบบใช้ค่าระยะเพื่อกำหนดขนาด <br>10) ใช้ชุดคำสั่ง Modify ชนิด Trim ในการตัดเศษส่วนเกินของเส้นชิ้นงาน <br>11) ใช้ชุดคำสั่ง Modify ชนิด Extend ในการต่อชนส่วนที่ขาดของเส้นชิ้นงาน <br>12) ใช้ชุดคำสั่ง Modify ชนิด Copy คัดลอกชิ้นที่ซ้ำกัน แบบใช้ค่าระยะและพิกัด <br>13) ใช้ชุดคำสั่ง Modify ชนิด MOVE เคลื่อนย้ายชิ้นงานแบบใช้ค่าระยะและพิกัด <br>14) แบบฝึกหัด-แบบทดสอบ : สร้างแบบแปลนห้องพัก พร้อมจัดวางเฟอร์นิเจอร์ <br><br>15) สร้างและควบคุม Layer แยกระดับชั้นของแบบชิ้นงานแต่ละลักษณะสำคัญ <br>16) ใช้ชุดคำสั่ง Draw ชนิด Polygon สร้างรูปหลายเหลี่ยม ใช้ค่าระยะหรือพิกัด <br>17) ใช้ชุดคำสั่ง Draw ชนิด Circle สร้างรูปวงกลม โดยใช้ค่ารัศมีและพิกัดอ้างอิง <br>1 ใช้ชุดคำสั่ง Draw ชนิด Arc สร้างเส้นโค้ง วงกลม โดยใช้จุดอ้างอิง 3 จุด <br>19) ใช้ชุดคำสั่ง Draw ชนิด Hatch ลงลายแรเงาเพื่อแยกลักษณะที่ในพื้นที่แบบ <br>20) ปรับมุม ทิศทางของแกน Crosshair สำหรับการเขียนแบบแนวแกนเอียง <br>21) เขียนแบบตามแนวแกนเอียง โดยใช้ชุดคำสั่ง Draw และ Modify <br>22) ใช้ชุดคำสั่ง Inquiry ชนิด Distance หาค่าระยะความยาวของแบบ <br>23) สร้างแบบรูปด้านตั้งโดยใช้แบบแปลนที่มีอยู่ <br><br>24) ใช้แบบชิ้นงานจากไฟล์อื่นๆ โดย Insert External Reference และ Block <br>25) แบบฝึกหัด-แบบทดสอบ : สร้างแบบแปลนและรูปด้าน ศาลา 8 เหลี่ยม <br>......พร้อมชิ้นงานประกอบ <br><br>26) ใช้ชุดคำสั่ง Draw และ Modify สร้างกรอบและพื้นที่พิมพ์แบบ <br>27) เข้ามาตราส่วน ให้กับแบบที่สร้างขึ้น ด้วย ชุดคำสั่ง Modify : Scale <br>2 กำหนดอักษร Single Line Text ให้เหมาะกับมาตราส่วนและพิมพ์ตัวอักษร <br>29) กำหนดรูปแบบของเส้นบอกระยะ (Dimension) <br>30) ใช้เส้น Dimension บอกระยะตามแนวเอียงตามแบบ <br>31) ใช้เส้น Dimension บอกมุม รัศมี และเส้นผ่านศูนย์กลาง <br>31) การแก้ไขเส้น Dimension ที่มีอยู่ในแบบ <br>32) ใช้ชุดคำสั่ง Style ในการสร้างและเปลี่ยน สี, ลักษณะ และขนาดของเส้น <br>33) การพิมพ์แบบ (Print, Plot) ในหน้าต่าง Plot Device และ Plot settings <br>34) สั่งพิมพ์แบบตามขนาดกระดาษมาตรฐาน เข้ามาตราส่วน <br>35) แบบฝึกหัด-แบบทดสอบ : <br>......ใส่ Dimension เพื่อบอกระยะ, มุม, รัศมีหรือเส้นผ่านศูนย์กลาง <br><br>36) ใช้ชุดคำสั่ง Draw ชนิด Ellipse ในการสร้างรูปวงรี โดยใช้ค่าระยะหรือพิกัด <br>37) ใช้ชุดคำสั่ง Draw ชนิด Point สร้างจุดอ้างอิงหรือสัญลักษณ์ประกอบแบบ <br>3 ใช้ชุดคำสั่ง Modify ชนิด Array คัดลอกชิ้นงาน ตามระยะและทิศทาง <br>39) ใช้ชุดคำสั่ง Modify ชนิด Rotate หมุนทิศทางของชิ้นงานโดยใช้ค่าองศา <br>40) ใช้ชุดคำสั่ง Modify ชนิด Scale ย่อหรือขยายชิ้นงาน <br>41) ใช้ชุดคำสั่ง Modify ชนิด Mirror พลิกกลับด้านตรงกันข้ามของชิ้นงาน <br>42) ใช้ชุดคำสั่ง Modify ชนิด Fillet ในการต่อมุมโค้งตามค่ารัศมี <br>43) ใช้ชุดคำสั่ง Modify ชนิด Chamfer ตัดมุมตามแนวเอียงตามค่าระยะจุดตัด <br>44) ใช้ชุดคำสั่ง Modify ชนิด Stretch เพิ่มหรือลด ช่วงระยะทั้งส่วน ของแบบ <br>45) ใช้ชุดคำสั่ง Modify ชนิด Explode แยกเส้นส่วนประกอบชิ้นงานที่ติดกัน <br>46) แบบฝึกหัด-แบบทดสอบ : สร้างแบบแปลนและรูปด้านของ นาฬิกาข้อมือ <br>47) แบบฝึกหัด-แบบทดสอบ : แบบแปลนและรูปด้าน อาคารสำนักงาน-โรงงาน <br><br>4 ใช้ชุดคำสั่ง View และ Viewport ในการกำหนดด้านที่จะขึ้นรูปโมเดล <br>49) ใช้ชุดคำสั่ง Shade ในการแสดงผล ภาพชิ้นงาน 3D <br>50) ขึ้นรูปทรง 3D จากแบบ 2D ด้วยคำสั่ง Extrude สำหรับรูปทรงแท่งทึบตัน <br>51) ขึ้นรูปทรง 3D จากแบบ 2D ชนิดเจาะช่อง-รู ด้วย Subtract และ Extrude <br>52) ขึ้นรูปทรง 3D จากแบบ 2D ด้วย Revolve สำหรับรูปทรงกลึง-ทรงกระบอก <br>53) ใช้ชุดคำสั่ง Solid ขึ้นรูปทรง 3D ชนิดเรขาคณิต <br>..... รูปทรง Box, Sphere, Cylinder, Cone, Wedge และ Torus <br>54) จัดวางโมเดลส่วนประกอบแต่ละชิ้น ด้วยคำสั่ง Move, Rotate, Scale และ <br>..... Copy เพื่อให้รวมชิ้นงาน <br><br><br>สนใจติดต่อ คุณโฟม 089-6320232 |
31/08/2552 23:26 น. |
หาหนังสือมาอ่าน ง่ายกว่ามั้ง เพราะดูแล้วมีแต่หัวข้อพื้นฐานทั้งนั้นกรมพัฒนาผีมือแรงงานเขาเปิดเรียนกันฟรี ครับไม่ต้องเสียตังด้วย อิอิ |
01/09/2552 12:24 น. |
5555555555 |
01/09/2552 14:47 น. |
เรียนจบแล้วเป็นมืออาชีพเลยเหรอครับ โม้จริงๆ |
25/09/2552 14:04 น. |
ไอ้ที่ว่าเขามีปัญยาสอนได้เหมือนเขาหรือเปล่าฟาย |
17/03/2553 16:05 น. |
ผมเป็นคนลงประกาศเองครับ ขอบคุณความเห็นที่ 4 ที่เข้าใจครับ ส่วน 1-3 ก็ปล่อยเค้าครับ ใช้สติเยอะๆนะครับ อย่าคิดว่า AutoCAD ง่าย แต่มันจำเป็นมากสำหรับชีวิตการทำงานของคนหลายๆคน |