นับตั้งแต่การปฏิวัติทางอุตสาหกรรมในปี ค.ศ. 1765 (พ.ศ. 2308)โดยนายเจมส์ วัตต์ จนมาถึงการพัฒนาเครื่องยนต์สันดาปภายในขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1860 (พ.ศ. 2403) โดยนาย Etienne Lenoir พลังงานที่เรานำมาใช้ล้วนมาจากการเผาไหม้ของวัตถุดิบจากธรรมชาติ
“แสงอาทิตย์” เป็นแหล่งพลังงานธรรมชาติที่มีขนาดใหญ่ที่สุด เป็นพลังงานสะอาดและมีอยู่ทั่วไป แต่การนำมาใช้ประโยชน์อาจยังมีข้อจำกัดอยู่บ้าง เนื่องจากแสงอาทิตย์มีเฉพาะในตอนกลางวัน ตลอดจนมีความเข้มของแสงที่ไม่แน่นอน เพราะขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและฤดูกาลที่เปลี่ยนไป
ความเข้มการส่องสว่างในทิศทางใดทิศทางหนึ่งของแหล่งกำเนิดแสงซึ่งมีการกระจายแสงที่สม่ำเสมอในทุกทิศทาง เท่ากับฟลักซ์การส่องสว่างหารด้วย 4¶
ความเข้มการส่องสว่าง คือ ความเข้มของปริมาณแสงที่ส่องไปยังทิศทางใดทิศทางหนึ่งต่อวินาทีใช้แทนด้วยสัญลักษณ์ Iหน่วย คือ แคนเดลา (cd)
ความเข้มการส่องสว่าง คือ ความเข้มของปริมาณแสงที่ส่องไปยังทิศทางใดทิศทางหนึ่งต่อวินาทีใช้แทนด้วยสัญลักษณ์ Iหน่วย คือ แคนเดลา (cd)
ฟลักซ์การส่องสว่าง คือ ปริมาณแสงทั้งหมดที่ออ"ากแหล่งกำเนิดแสงต่อวินาทีใช้แทนด้วยสัญลักษณ์ fหน่วย คือ ลูเมน (lm)
ความส่องสว่าง คือ ความเข้มการส่องสว่างที่สะท้อนจากพื้นที่หนึ่งหน่วยของพื้นผิวไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง
ความสว่าง คือ ปริมาณแสง หรือฟลักซ์การส่องสว่างที่ตกลงบนพื้นผิวต่อพื้นที่หนึ่งหน่วย (รูป)ใช้แทนด้วยสัญลักษณ์ Eหน่วย คือ ลักซ์ (lx)หนึ่งลักซ์เท่ากับหนึ่งลูเมนต่อตารางเมตร (lm/m2)
ความสว่าง ณ จุดหนึ่งบนพื้นราบซึ่งไม่ตั้งฉากกับทิศทางของความเข้มการส่องสว่างมีค่าเท่ากับความเข้มการส่องสว่างในทิศทางของจุดนั้น หารด้วยกำลังสองของระยะทางระหว่างแหล่งกำเนิดแสง
แนวคิดการวัดค่าความสว่างที่ใช้การได้ มี 4 แนวคิด คือฟลักซ์การส่องสว่าง ความเข้มการส่องสว่าง ความสว่าง ความส่องสว่าง
การใช้พลังงานเป็นปัจจัยในการตัดสินใจที่สำคัญสำหรับทางออกในการส่องสว่างใด ๆ เมื่อทราบว่าการส่องสว่างมีสัดส่วนถึง 30% ของการใช้พลังงานในอาคารหนึ่ง จึงเป็นที่ชัดเจนว่าการออกแบบการส่องสว่างที่ดีสามารถช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการลงได้อย่างน่าทึ่ง
ปัญหานี้มักจะพบโดยทั่วไปสำหรับผู้ที่กำลังคำนวณหาค่ากระแสลัดวงจรในระบบ เพราะค่า R และค่า XL ของหม้อแปลงไม่ได้บอกมา ซึ่งเราสามารถที่จะหาค่า R และค่า XL ได้จากค่า เปอร์เซนต์อิมพิแดนซ์ของหม้อแปลง (%Z) ที่ได้ให้มาจาก Name Plate ของหม้อแปลงดังนี้
เมื่อต้องการตรวจสอบคาปาซิเตอร์ทั้งที่เป็นการตรวจสอบเพื่อการบำรุงรักษาหรือว่าต้องการตรวจสอบเนื่องจากมีปัญหาในการใช้งาน เราอาจมีการตรวจสอบดังนี้
เริ่มต้น การออกแบบการชดเชย Reactive Power ให้กับโหลด บางครั้งมีขนาดไม่เหมาะที่จะทำเป็น Step เดียว ต้องแบ่งเป็นหลายๆ Step เพื่อความเหมาะสมทั้งทางด้านอุปกรณ์ที่จัดหาได้ง่าย ไม่กระทบกับระบบแรงดันจรเกินไป (Over Voltage)
การตั้งค่าลำดับการทำงาน (Sequence) ในการตัดต่อคาปาซิเตอร์แบ่งออก 2 ประเภทหลักๆ คือ
เริ่มต้นด้วยความปลอดภัยเป็นอันดับแรก เนื่องจากคาปาซิเตอร์อุปกรณ์ที่ทำงาน Full Load ตลอดเวลา ก่อนการซ่อมบำรุงทุกครั้งควรปฏิบัติดังนี้
ในวงจรย่อยของคาปาซิเตอร์ในระบบไฟฟ้าแรงต่ำ จำเป็นต้องมีอุปกรณ์ป้องกันการลัดวงจรอยู่ด้วยเสมอซึ่งสามารถใช้ได้ทั้ง HRC Fuse และ MCCB แต่มีข้อควรพิจารณาในการเลือกใช้ดังนี้
การชำรุดของอุปกรณ์ในวงจรคาปาซิเตอร์ เนื่องจากปรากฏการณ์ " HUNTING" จากประสบการณ์ ที่โรงงานแห่งหนึ่งที่ติดตั้งคาปาซิเตอร์จำนวนหลายชุด โดยมีเครื่องควบคุมการตัดต่อคาปาซิเตอร์แบบอัติโนมัติทั่วไปเหมือนโรงงานอื่นๆ
ถ้าต้องการยืดอายุการใช้งานให้กับคาปาซิเตอร์ เราต้องเริ่มต้นจากความเข้าใจถึงสาเหตุที่ทำให้คาปาซิเตอร์ มีอายุการใช้งานสั้นกว่าปกติก่อน
ฟิวส์เป็นอุปกรณ์ป้องกันลัดวงจรภายในวงจรคาปาซิเตอร์ ในการบำรุงรักษาคาปาซิเตอร์
และปัญหาหนึ่งที่พบบ่อยคือ ฟิวส์ขาด