Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,535
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,749
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 174,117
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 174,044
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,485
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,539
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,515
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,894
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 162,020
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,373
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,274
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,477
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,959
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,710
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,757
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,578
17 Industrial Provision co., ltd 40,643
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,284
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,243
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,562
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,470
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,798
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,230
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 32,043
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,474
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,492
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,856
28 AVERA CO., LTD. 23,581
29 เลิศบุศย์ 22,561
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,344
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,200
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,903
33 แมชชีนเทค 20,837
34 มากิโน (ประเทศไทย) 20,065
35 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 20,040
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,825
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,469
38 SAMWHA THAILAND 19,364
39 วอยก้า จำกัด 19,090
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,550
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,356
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,261
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,253
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,227
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 18,099
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 18,085
47 Systems integrator 17,643
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,625
49 Advanced Technology Equipment 17,440
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,410
24/04/2563 06:24 น. , อ่าน 4,378 ครั้ง
Bookmark and Share
Primary Resistance Start
โดย : Admin

การสตาร์ทมอเตอร์ด้วยตัวต้านทาน  Primary Resistance Start

การสตาร์ทมอเตอร์ด้วยตัวต้านนี้คือ การใช้ตัวต้านทานมาต่ออนุกรมกับขดลวดสเตเตอร์ของมอเตอร์ในช่วงสตาร์ทหรือช่วงออกตัว เพื่อให้เกิดแรงดันตกคร่อมขดลวดของมอเตอร์น้อยลง  ซึ่งเสมือนกับเป็นการลดแรงดันขณะสตาร์ทอีกวิธีหนึ่งนั่นเอง

โดยทั่วไปการกำหนดคาแรงดันตกคร่อม จะต้องอาศัยพารามิเตอร์ของมอเตอร์แต่ละตัวนำมาคำนวนหาค่าเพื่อออกแบบตัวต้านทาน  ซึ่งมอเตอร์แต่ละตัวก็จะมีค่าความต้านทานที่แตกต่างกัน   เพื่อจะทำให้เกิดแรงบิดและควบคุมกระแสในขณะสตาร์ทให้เป็นไปตามความต้องการ

***  วิธีการสตาร์ทมอเตอร์แบบนี้  ปัจจุบันไม่ค่อยมีใช้และเป็นอะไรที่หาดูได้ยาก

 

 

 

การทำงานของวงจรสตาร์ทมอเตอร์

ขั้นตอนแรก KM11 จะถูกสั่งให้ทำงานและต่อวงจรให้ตัวต้านต่ออนุกรมกับขดลวดของมอเตอร์  ซึ่งก็จะทำให้แรงดันตกคร่อมขดลวดน้อยลงและเป็นการลิมิตกระแสขณะสตาร์ทหรือช่วงออกตัว
จากนั้นความเร็วของมอเตอร์ผ่านไปได้ประมาณ 80% ของความเร็วซิงโครนัสสปีด  KM1 ก็จะถูกสั่งให้ทำงานและขณะเดียวกัน KM11 ก็จะถูกสั่งให้หยุดการทำงาน เพื่อตัดตัวต้านทานออกจากวงจรและมอเตอร์ก็จะได้รับแรงดันโดยตรงจากแหล่งจ่าย


 



 

 

ส่วนความสัมพันธ์ของกระแสและแรงบิดจะมีลักษณะดังนี็

กระแสขณะสตาร์ท....ถ้าออกแบให้มีแรงดันคร่อมมอเตอร์ที่ 75 % (285V) กระแสขณะสตาร์ทก็จะมีค่าประมาณ (285/380) * 6  = 4.5 เท่าของกระแสพิกัดบนแผ่นป้ายเนมแพลท
แรงบิดขณะสตาร์ท ...ซึ่งหากออกแบบให้แรงดันตกคร่อมเท่ากับ (75%)  มอเตอร์ก็จะมีแรงบิดช่วงสตาร์ทประมาณ (285/380) * 1.5  = 0.84 เท่าของแรงบิดขณะสตาร์ท

 

 

========================================================

 

 

 

14 June 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD