Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 176,798
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,171
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,457
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,452
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,913
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,029
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,006
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,295
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,144
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,818
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,773
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,973
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,317
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,815
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,160
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,053
17 Industrial Provision co., ltd 39,849
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,798
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,713
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,041
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,974
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,322
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,741
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,469
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,975
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,969
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,347
28 AVERA CO., LTD. 23,102
29 เลิศบุศย์ 22,062
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,820
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,713
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,327
33 แมชชีนเทค 20,316
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,575
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,545
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,286
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,963
38 SAMWHA THAILAND 18,740
39 วอยก้า จำกัด 18,405
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,978
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,823
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,759
43 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,725
44 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,670
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,602
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,595
47 Systems integrator 17,156
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,100
49 Advanced Technology Equipment 16,934
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,898
18/10/2549 15:50 น. , อ่าน 2,481 ครั้ง
Bookmark and Share
motor ต่อ DELTA และรับไฟจากหม้อแปลงที่ต่อ DELTA
ช่างใหม่
18/10/2549
15:50 น.
เรียน ท่านผู้รู้ครับ<br> ปกติเราจะเคยชินกับระบบไฟฟ้าในประเทศไทยที่มีด้าน Output <br>distribution ของหม้อแปลงจำหน่ายหรือระบบไฟฟ้ามักเป็นการต่อแบบ Y และเมื่อเรามีมอเตอร์มาต่อก็พิจารณากันไปตาม NAMPLATE ว่าให้ต่อมอเตอร์ลักษณะใด แรงดันเท่าไหร่ ก็ว่ากันไปตาม ระบบไฟฟ้าและการใช้งาน<br> ปัญหาที่ผมสงสัยคือว่า สมมติว่ามีหม้อแปลงไฟฟ้าที่ออกแบบมากับ Complete Set Machine (หมายถึง ในเครื่องจักรชุดนี้อาจจะเป็นเครื่องจักรนำเข้าแล้วมีการติดตั้งหม้อแปลง และมีมอเตอร์รับไฟจากหม้อแปลงมาด้วย) แล้วบังเอิญว่ามีการต่อหม้อแปลงชนิดนั้นไว้เป็น DELTA 220 v.Unground.<br> 1.มอเตอร์ที่นำมาต่อใช้งาน มีการเขียนไว้ที่ Nameplate ว่า 220 /380 Delta/Star อันนี้แน่นอนอยู่แล้วว่าเราจะต่อ Motor เป็น Delta แล้ว Ground ละครับจะลงดินที่ Motor หรือ ลงดินอย่างไร ?<br> 2. ถ้าเป็นกรณีนี้ เกิดมีการลง Ground ของระบบไฟฟ้าเป็น SLG (Single Line To Ground) แน่นอนว่าระบบไฟฟ้าเป็น UNGROUND จะส่งผลให้ Voltage สูงขึ้นมากในเฟสที่เหลืออยู่(ที่ไม่ได้เกิดการลงกราวน์) ถ้าเป็นอย่างนี้ เราต้องพิจารณาคุณสมบัติเรื่องการทนได้ต่อแรงดัน เฟสกับดิน ของมอเตอร์ที่จะนำมาต่อเพิ่มเติม หรือไม่ เนื่องจากในระบบ Delta Unground นั้นจะมีผลของ Voltage ที่เพิ่มสูงขึ้นในเฟสที่เหลืออยู่ที่ไม่ได้เกิด Ground Fault ต่างจากระบบ Star ที่มีการนำจุด Neutral ลง Ground อยู่แล้วซื่งก็แล้วแต่ว่าจะลงกราวน์แบบใด(ซื่งถ้าเป็น High resistor ground ก็อาจจส่งผลในเรื่อง Voltage เหมือนกัน)<br>
ความคิดเห็นทั้งหมด 5 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
N
19/10/2549
13:37 น.
เขาจะเลือกเอาเฟสใดเฟสหนึ่งต่อลงดินที่หม้อแปลงครับ
ความคิดเห็นที่ 2
PPL
21/10/2549
16:30 น.
อ่านแล้วงง ระวังมอเตอร์จะระเบิด หากยังเข้าใจแบบมั่วๆอยู่ Ground = ดิน<br>Ground ครับจะลงดินที่ Motor หรือ ลงดินที่ตู้ก็ได้ แต่ให้มันลงดิน ข้อ 2 งง งง ถามเหมือนรู้ แต่รู้ไม่จริง
ความคิดเห็นที่ 3
12
21/10/2549
18:40 น.
ถ้าอ่านมาตรฐาน วสท. ก็จะรู้ว่าให้ต่อลงดินที่ตู้ Main switch ถัดจากนั้นห้ามต่อลงดินที่จุดอื่นอีก ดังนั้นการต่อลงดินที่ Motor ถือว่าผิด ส่วนหม้อแปลงด้าน Output เป็นแบบ Delta ให้ไปอ่านหนังสือเรื่อง "การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง" ของอาจารย์ ศุลี บรรจงจิตรดู มันจะมีหัวข้อเรื่องระบบไฟฟ้าแบบต่างๆอยู่ รายระเอียดบอกว่า ให้เลือกเอาเฟสใดเฟสหนึ่งต่อลงดิน
ความคิดเห็นที่ 4
หลิว
21/10/2549
18:42 น.
ต่อลงดินที่ Motor ไม่ได้ ต้องใชคำว่าต่อสายดินนะจ๊ะถึงจะถูก
ความคิดเห็นที่ 5
ช่างใหม่
24/10/2549
08:43 น.
คำตอบที่ 2 ขอบคุณที่ชี้แนะ<br> ระบบ UNGROUND หรือ High R. Ground ถ้าเกิด Fault ในระบบแล้ว Voltage จะค่อนสูงกว่า ระบบที่เป็น SOLID G. ไม่ใช่หรือครับ ซื่ง SOLID GROUND จะมีผลเรื่องกระแสสูงมากกว่า ดังนั้นในโรงงานอุตสาหกรรมใหญ่ที่มีมอเตอร์เดินต่อเนื่อง ไม่ต้องการให้เกิดการ Trip ออกที่เร็วเกินไปเมื่อเกิด Fault ในระบบ อาจจะออกแบบให้ระบบไฟฟ้าเป็น High R. GROUND ผลคือเมื่อเกิด Fault จะตรวจจับ Voltage ให้ Alarm ซื่งในระหว่างที่มีการ Alarm Voltage อยู่นี้หน้าที่ของ Maintenance ก็ต้องรีบ Clear Fault ออกให้เร็วที่สุด โดยถ้าไม่รีบ Clear ออก เมื่อ R.ได้รับความร้อนจากผลของกระแสที่ Fault ลงดินอยู่นั้นก็อาจจะขาด ผลที่ตามมาคือระบบไฟฟ้าแทนที่จะเป็น HIGH R.Ground ก็อาจจะกลายเป็น Solid Ground หรือ Unground ไปเลยซื่งระบบ Ground แต่ละระบบก็จะมี Effect ของ Voltage ทางไฟฟ้าต่างกันไป (ไม่รู้นะครับว่าถูกต้องไหม แต่ถ้ามีข้อโต้แย้ง ก็โปรดให้ความเห็นครับ อันนี้ผมดูจากประสบการณ์ในงานจริง และ วิชา Power system ที่เคยรู้มาบ้าง)<br> ทีนี้ไอ้คำถามที่ 2 ก็คือว่า ผมกำลังนึกถึง Power System กับโหลดที่เป็นมอเตอร์ คำถามแบบง่ายๆก็คือ ถ้า Power System Configulation ระบบ Ground เปลี่ยนไปจะมีผลกระทบต่อ การทนได้ต่อการเปลี่ยนแปลง PARAMETER ในระบบไฟฟ้ากับ Motor ที่ออกแบบมาหรือไม่ อย่างเช่น มอเตอร์มีการออกแบบความคงทนต่อแรงดันเฟสกับดิน(ต้องนึกถึงมอเตอร์แรงดันสูง___ แรงดันระหว่าง Bushing แต่ละเฟสเทียบกับดิน) รองรับเมื่อระบบไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงเช่น วันดีคืนดีอาจจะมีการเปลี่ยนหม้อแปลงที่เคยจ่ายให้มอเตอร์ จากเดิมที่เคยต่อเป็น Y-GROUND แล้วเปลี่ยนเป็น DELTA ผลเรื่องแรงดันเกินที่มอเตอร์จะเป็นอย่างไร เมื่อเกิด Fault ในระบบนี้ขึ้นมา<br> ถ้าอ่านไม่เข้าใจก็ไม่ต้องตอบนะครับอาจจะลึกไปหน่อยเพราะไม่ใช่วิชามอเตอร์อย่างเดียว ผมจะลองศึกษาใหม่อีกครั้งแล้วค่อยถามอีกที
ความคิดเห็นทั้งหมด 5 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง:
23 November 2024
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD