Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,289
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,562
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,870
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,848
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,302
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,365
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,334
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,706
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,738
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,186
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,099
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,320
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,768
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,529
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,538
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,404
17 Industrial Provision co., ltd 40,475
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,127
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,059
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,388
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,296
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,643
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,069
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,859
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,291
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,312
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,682
28 AVERA CO., LTD. 23,422
29 เลิศบุศย์ 22,384
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,141
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,043
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,711
33 แมชชีนเทค 20,654
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,880
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,870
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,656
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,297
38 SAMWHA THAILAND 19,153
39 วอยก้า จำกัด 18,882
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,366
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,180
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,100
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,046
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,037
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,941
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,933
47 Systems integrator 17,479
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,455
49 Advanced Technology Equipment 17,265
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,251
19/09/2549 15:46 น. , อ่าน 4,302 ครั้ง
Bookmark and Share
starting torque Motor&starting current
ช่างใหม่
19/09/2549
15:46 น.
เรียนท่านผู้รู้ครับ<br> ปกติ Norminal Torque ของ Motor ที่ให้มาใน DATA SHEET ถ้าคำนวณเป้นกระแสจะได้กระแสประมาณ Rated Current ที่ให้มาตาม Name plate<br> แต่ที่สงสัยคือ ถ้าเราดู Curve Motor จะมี Curve Torque - Speed และบางทีก็มี Curve Starting current และเวลามาให้ด้วย <br> 1. Starting Torque ถ้าคำนวณจากกระแสจะใช้ Starting Current คำนวณได้หรือไม่ เช่น บอกว่า Starting Current ประมาณ 5 เท่าของกระส Rated ก็ทำการแปลงเป็น KW. จากนั้นจาก kw. ก็สามารถหา Torque ได้แล้ว (จาก P= Te * w)<br> 2. ทำไมข้อมูลใน Data Sheet ส่วนมากบอก Maximum torque (โดยปกติจะเป็น Starting torque) น้อยกว่า Locked Rotor Torque ทำไมไม่บอก Maximum Torque = Locked rotor torque ไปเลย หรือว่า ถ้าใช้ Torque ถึง Locked Rotor Torque แล้ว Motor จะเสียหายไปแล้ว เอ๊ะแล้วถ้าใช้ถึง Maximum torque ละ เป็นอย่างไร <br> 3. การ Set O/L จะ 100%หรือ 125%ก็ตาม มี Concept ไหมครับ ว่ามีการ Set Overload เพื่อให้ Overload Trip ก่อน Coupling หรือ Gear ที่มาต่อกับ Motor พัง <br> ยกตัวอย่างนะครับ มีมอเตอร์ต่อกับ Load เป็น Coupling อยู่ตัวหนึ่งแล้ว วันดีคืนดี Coupling เกิดพังขึ้นมาและมีการตั้งสมติฐานกันว่า ทำไมมอเตอร์ไม่ Trip ก่อน ทำไมปล่อยให้ Run จน torque สูงจน Coupling พัง ผมได้เจอเหตุการณ์แบบนี้จึงอยากปรึกษาครับ Thermal Overload Relay ออกแบบมาป้องกัน Motor ไม่ใช่หรือ แล้วการที่จะป้องกันด้านโหลดแบบนี้มันน่าจะเป็นผลทางอ้อมที่ไม่น่าจะระบุเป็นจุดประสงค์ว่า Motor ต้อง Trip ก่อน Coupling ขาด แต่น่าจะเป็น พูดว่า Motor trip โดย Overload relay เพื่อป้องกัน Motor เสียหายจากความร้อนเนื่องจากกระแสมากกว่า -------------- รบกวนด้วยครับท่านผู้รู้<br>
ความคิดเห็นทั้งหมด 5 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
ช่างใหม่
19/09/2549
19:57 น.
จากข้อ3 เกี่ยวกับ Acceleration Torque ไหมครับ<br>ที่ทำให้ Coupling<br> แล้ว Acceleration Torque คืออะไรครับ<br>ค้นเจอสมการ บอกไว้ดังนี้ <br> T a = (WK)2 * (RPM) / 308*t<br> Ta = แรงบิดที่ต้องใช้เพื่อการเร่งความเร็ว(ปอนด์ * ฟุต) ของมอเตอร์<br> WK2 = แรงเฉื่อยของโหลด (ปอนด์ *(ฟุต)2 )<br> RPM = ค่าความเร็วที่เปลี่ยนแปลง(ความเร็วปลาย - ความเร็วต้น)<br> t = ช่วงเวลาที่ต้องการในการเปลี่ยนความเร็ว<br>สงสัยคือเกิดตอนไหน และถ้าเกิดทำไมทำให้เครื่องจักรที่ต่ออยู่พังได้ ถ้าเกิดขึ้น Protection Motor ไม่ Trip ก่อนหรือ?<br>
ความคิดเห็นที่ 2
ช่างใหม่
19/09/2549
19:58 น.
thermal overload relay จะไม่สามารถป้องกัน Locked Rotor ได้ใช่ไหมครับ
ความคิดเห็นที่ 3
ช่างซ่อมมอเตอร์
20/09/2549
23:16 น.
ขอให้ความคิดเห็นตามหัวข้อคำถามอย่างนี้ครับ<br><br>1.เข้าใจว่าสามารถคำนวณ กลับไปกลับมาไดเ หรือ รู้กระแสสตาร์ทก็สามารถหาแรงบิดขณะสตร์ทได้ แต่พารามิเตอร์ที่ใช้ในการคำนวณ เราจะไม่สามารถหาค่าได้ เช่น อิมพีแดนซ์ของโรเตอร์ และค่าคงที่ต่างๆ ซึ่งค่าพวกนี้จะเป็นค่าที่ถูกออกแบบมาโดยเฉพาะในแต่ละโมเดลของมอเตอร์ และยี่ห้อ ทำให้มอเตอร์มีสตาร์ทติ้งทอร์ค ต่อพิกัดทอร์ค แต่ละตัวไม่เท่ากัน<br><br>2. Maximum Torque และ Starting Torque จะเป็นค่าคนละตัว ถ้ามอเตอร์ที่มี การออกแบบทั่วๆไป Maximum Torque จะเป็นค่าที่มอเตอร์ผลิตแรงบิดได้สูงที่สุด ซึ่งเป็นอยู่ ณ. ค่าที่มอเตอร์มีความเร็วรอบแล้วส่งผลให้ค่า XL และ R ของโรเตอร์มีค่าเท่ากัน ซึ่งโดยปกติจะมีความเร็วอยู่ที่ 85 เปอร์เซนต์ของความเร็วสนามแม่เหล็กหมุน ถ้าเข้าไปศึกษาในรายละเอียดจะได้ว่า ค่า XL ของโรเตอร์จะมีค่าเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตามความถี่ของโรเตอร์ ซึ่งเปลี่ยนแปลงตามความเร็วรอบของโรเตอร์ที่เปลี่ยนแปลง<br><br>ส่วนค่าของสตาร์ทติ้งทอร์ค กับค่าของล๊อคโรเตอร์ทอร์คจะมีค่าเกือบเท่ากัน เพราะเป็นแรงบิดที่มอเตอร์ผลิตออกมาได้ในสภาวะเกือบเหมือนกัน ต่างกันตรงที่ ล๊อคโรเตอร์ความร้อนจากการใช้งานจะทำให้ค่าความต้านทานของโรเตอร์เปลี่ยนแปลงมากขึ้นไปบ้าง ฉะนั้นเข้าใจว่า ล๊อคโรเตอร์ทอร์คควรจะมีค่าต่ำกว่า สตาร์ทติ้งทอร์คอยู่บ้าง แต่คงไม่มากนักจนสามารถที่อาจจะไม่นำมาพิจารณาก็ได้<br>คำถามว่าเราสามารถใช้งานมอเตอร์ในสภาวะ Maximum Torque ได้หรือไม่ คำตอบคือได้ ถ้าเราสามารถระบายความร้อนของขดลวดที่จะเกิดขึ้นเนื่องจากกระแสที่ไหลเข้ามอเตอร์อันมาก หรือมีการใช้งานในระยะเวลาอันสั้น และไม่ทำให้ความร้อนสะสมมากขึ้นจนส่งผลเสียหายกับระบบฉนวนของมอเตอร์ <br>และเมื่อเราเพิ่มโหลดของมอเตอร์เกิน จุดที่เป็น Maximum Torque มอเตอร์ก็จะหยุดหมุนและอยู่ในสภาวะ Lock Rotor ฉะนั้นจุดพิกัดทอร์ค ของมอเตอร์ คือจุดที่มอเตอสามารถผลิตแรงบิดเพื่อขับโหลด และมีความสามารถระบายความร้อนที่เกิดจากกระแสที่ใช้ในการผลิตแรงบิด ในการขับโหลด แล้วมีอุณหภูมิสูงขึ้นตามค่าที่กำหนดในรูปของ Temp Rise โดยมีระยะการใช้งาน ตามค่า Duty Cycle และถ้าเราเปลี่ยนจุดใช้งานของแรงบิดที่สูงขึ้นย่อมจะทำให้ค่าต่างๆเปลี่ยนไป เพราะจะมีความสัมพันธ์กันอยู่<br><br>3. เข้าใจว่าปัญหาของคุณ ช่างใหม่ คือเกิดความเสียหายของ คัปปลิ้ง แล้วอุปกรณ์ป้องกันไม่ทำงาน หรือไม่ป้องกันคัปปลิ้งไปด้วย จากประสบการ์ณคัปปลิ้งมักจะเกิดความเสียหาย กับโหลดประเภทที่มีแรงเฉื่อย สูงๆ มีการทำงานแบบ หมุนกลับไป กลับมา หรือมีการเบรค ความเสียหายที่เกิดขึ้นที่คัปปลิ้งมักจะไม่เกิดขึ้นทันทีทันใด โดยปกติจะค่อยๆเกิด ถ้ามีการตรวจสอบ และมีการใช้งานอย่างปกติ คัปปลิ้งมักจะไม่เกิดความเสียหาย <br>ส่วนคำถามว่าในกรณีเกิดการล๊อคโรเตอร์ทำไมโอเวอร์โหลดไม่ทำงาน ผมคิดว่าคัปปลิ้งเกิดความเสียหายสะสมโดยอาจจะเกิดสเตรจที่ตัวของมันเองเนื่องจากการใช้งาน แล้วส่งผลให้เกิดคุณสมบัติที่เปลี่ยนแปลงทำให้ความแข็งแรงลดลง และเมื่อมีโอกาสเกิดการโอเวอร์โหลดคัปปลิ้งจึงขาดก่อนที่โอเวอร์โหลดหรือ โปรเทคชั่นต่างๆจะทริปวงจรออก ( อันมีคงต้องศึกษาเป็นกรณีๆกรณีไป ) โดยแน่นอนว่า Thermal Overload Relay จะทริปวงจรออก เมื่อมอเตอร์เกิดการ Lock Rotor และมีเวลานานพอตาม คลาสของโอเวอร์โหลดที่จะทำงาน( ทริป)
ความคิดเห็นที่ 4
ช่างใหม่
22/09/2549
15:05 น.
ขอบคุณครับ
ความคิดเห็นที่ 5
jay
06/12/2550
21:04 น.
starting torgue คืออะไร
ความคิดเห็นทั้งหมด 5 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง:
18 April 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD