Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,270
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,545
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,855
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,822
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,282
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,345
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,313
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,693
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,715
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,157
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,084
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,303
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,745
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,508
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,517
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,382
17 Industrial Provision co., ltd 40,461
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,113
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,042
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,375
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,274
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,628
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,054
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,844
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,276
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,293
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,662
28 AVERA CO., LTD. 23,405
29 เลิศบุศย์ 22,364
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,125
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,028
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,685
33 แมชชีนเทค 20,638
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,867
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,851
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,642
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,282
38 SAMWHA THAILAND 19,122
39 วอยก้า จำกัด 18,848
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,348
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,155
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,081
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,029
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,023
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,924
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,916
47 Systems integrator 17,464
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,438
49 Advanced Technology Equipment 17,244
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,234
04/08/2549 10:32 น. , อ่าน 1,661 ครั้ง
Bookmark and Share
การใช้งาน ชุดไดรว์
วิศวะใหม่
04/08/2549
10:32 น.
สอบถามท่านผู้รู้ทุกท่าน ถ้ามีการนำเอาชุดไดรว์ ที่มีเอาว์พุท 3 เฟส 380 โวลท์ ไปขับมอเตอร์ 3 เฟส 220 โวลท์ 50 HZ และมีการเซต V/F โดย V=380 และ F=87 เพื่อให้ V/F ในขณะที่แรงดัน 220 V. ได้ค่า F = 50 HZ. (แรงบิดเท่าพิกัดมอเตอร์ )<br><br>คำถามคือว่า ถ้าเราใช้งานชุดไดรว์ และมอเตอร์ ที่แรงดัน 380 โวลท์ ที่ความถี่ 87 เฮิรต เราจะสามารถ ใช้งานมอเตอร์ได้เอาว์ทพุทเพิ่มขึ้นอีก 74 เปอร์เซนต์ใช่หรือไม่ ( 87/50 x100)<br><br>ขอขอบคุณล่วงหน้าสำหรับทุกๆคำตอบและความคิดเห็นครับ
ความคิดเห็นทั้งหมด 5 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
Kung
04/08/2549
11:37 น.
"ใช้งานมอเตอร์ได้เอาว์ทพุทเพิ่มขึ้นอีก 74 เปอร์เซนต์" หมายถึงอะไรครับ Speed, Torque, Power ถ้าหมายถึง Torque ขอตอบว่าไม่ใช่
ความคิดเห็นที่ 2
วิศวะใหม่
04/08/2549
13:42 น.
เนื่องจาก V/F คงที่ตลอดครับ นั่นหมายถึง ทอร์คคงที่ เอาว์ทพุทผมหมายถึงกิโลวัตต์ หรือ Power ของมอเตอร์ที่เพิ่มขึ้นตามความเร็วรอบครับ
ความคิดเห็นที่ 3
ee-pro
04/08/2549
21:59 น.
น่าจะคำนวณผิดนะครับ<br>V/F<br>380/50=220/F<br>F=29 Hz. ครับถึงจะได้ Output votlage ที่ 220V.
ความคิดเห็นที่ 4
ช่างซ่อมมอเตอร์
05/08/2549
11:20 น.
ขอให้ความเห็นอย่างนี้ครับ<br><br>การเพิ่มขึ้นของความเร็วรอบในขณะที่ V/F = 220/50=4.4 จะทำให้ ความสามารถของมอเตอร์ที่จะผลิตแรงบิดได้คงที่เท่าพิกัด นั่นก็หมายความว่า มอเตอร์จะผลิต แรงม้าเพิ่มขึ้นตามความเร็วรอบที่เพิ่มขึ้น<br><br>แต่ยังมีปัจจัยที่ต้องพิจารณาต่อไปว่า เมื่อมีการนำเอาการใช้งานในลักษณะนี้ไปใช้งาน โหลดจะต้องการแรงบิดเพิ่มขึ้นหรือไม่ เมื่อมีการใช้งานเกินความเร็วรอบพิกัด และส่วนใหญ่โหลดมักจะต้องการแรงบิดเพิ่มขี้น นั่นก็จะเป็นผลทำให้มอเตอร์เกิดการโอเวอร์โหลด<br><br>อีกส่วนหนึ่งที่ต้องพิจารณาคือ คอร์ลอสที่จะเพิ่มขึ้นเป็นกำลังสองของความถี่ที่เพิ่มขึ้น คงตอบไม่ได้ว่าความร้อนที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากคอร์ลอสที่เพิ่มขึ้น จะสามารถทำให้หมดไปกับระบบจำนวนลมระบายความร้อนที่เพิ่มขึ้นตามความเร็วรอบที่เพิ่มขึ้นหรือไม่<br><br>อีกส่วนหนึ่งที่ต้องระวังคือเรื่องของโครงสร้างทางแมคคานิค ที่ต้องนำมาพิจารณาว่าสามารถทนแรงที่กระทำเพิ่มขึ้นได้หรือไม่<br><br>สรุป การใช้งานดังกล่าวจะทำให้มอเตอร์สามารถใช้งานได้เกินพิกัดแรงม้าของมอเตอร์ แต่คงไม่เป็นไปตามสัดส่วนของความเร็วรอบที่เพิ่มขึ้น โดยมีข้อที่ควรพิจารณาดังที่กล่าวไปแล้วข้างต้น
ความคิดเห็นที่ 5
ช่างซ่อมมอเตอร์
12/08/2549
11:47 น.
ขอเสริมคำตอบที่ 4 อีกนิดนึง พอดีไปอ่านพบเกี่ยวกับแรงหวี่ยงหนีศูนย์ที่มอเตอร์ออกแบบมาให้สามารถทนได้ สรุปได้ว่า NEMA ได้กำหนดให้มอเตอร์ที่ผ่านมาตรฐาน NEMA ต้องสามารถทนแรงเหวี่ยงหนีศูนย์ที่เกิดจากการใช้งาน Over Speed ( ใช้งานเกินความเร็วพิกัด ) มอเตอร์ 2 โปลต้องมีการใช้งานความเร็วโอเวอร์สปีดไม่เกิน 20 เปอร์เซนต์ และถ้าเป็นมอเตอร์มากกว่า 2 โปลต้องมีการใช้งานโอเวอร์สปีดไม่เกิน 25 เปอร์เซนต์<br><br>ฉะนั้นน่าจะพอสรุปได้ว่าการใช้งานด้วยวิธีดังกล่าวน่าจะทำให้ แรงม้าหรือกำลังของมอเตอร์เพิ่มขึ้นไม่เกิน 25 เปอร์เซนต์ของแรงม้าพิกัด
ความคิดเห็นทั้งหมด 5 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง:
12 April 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD