Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,287
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,562
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,869
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,846
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,296
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,363
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,334
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,706
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,737
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,184
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,099
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,318
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,766
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,528
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,536
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,402
17 Industrial Provision co., ltd 40,473
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,125
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,059
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,388
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,292
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,640
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,068
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,858
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,290
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,311
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,678
28 AVERA CO., LTD. 23,421
29 เลิศบุศย์ 22,380
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,139
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,041
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,710
33 แมชชีนเทค 20,652
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,879
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,869
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,656
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,295
38 SAMWHA THAILAND 19,149
39 วอยก้า จำกัด 18,881
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,363
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,179
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,100
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,044
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,035
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,940
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,933
47 Systems integrator 17,479
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,453
49 Advanced Technology Equipment 17,265
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,249
04/04/2549 11:59 น. , อ่าน 2,468 ครั้ง
Bookmark and Share
torque กับ แรงดันกระเพื่อม
ช่างใหม่
04/04/2549
11:59 น.
มีคำถามปรึกษา ครับ<br><br> กรณี Motor มีการ Supply โดยการใช้ Vary Speed Drive ซื่งหลักการคือนอกเหนือไปจากการเปลี่ยน ความถี่เพื่อปรับความเร็วรอบแล้ว จริงแล้วจะมีการปรับเปลี่ยน Voltage ตามไปด้วย<br><br>กล่าวคือ ต้องรักษาอัตราส่วนของ V/F ให้คงที่เพราะมีผลถึง Flux ที่สร้างขึ้น<br><br> คำถามครับ<br><br>กรณีที่เป็นการ Power Supply Motor เป็นแบบ Direct on line start<br><br>ถ้าแรงดันที่เข้ามอเตอร์มีการแกว่ง กระเพื่อมเปลี่ยนไปจากค่าเดิม มากบ้าง น้อยบ้าง จะมีผลกระทบต่อแรงบิดที่เกิดขึ้นในมอเตอร์หรือไม่ ผมหมายถึง <br>แรงบิดที่เกิดจากสภาวะแรงดันไม่ นิ่ง จะทำให้เกิดผลเสียหายอะไร ทำให้ ROTOR Crack ได้หรือไม่<br><br>ถ้าในช่วงที่แรงดันเปลี่ยนแปลง สมมติเปลี่ยนแปลงมากขึ้นจากค่าเดิม แล้วผมสามารถปรับ ความถี่ขึ้นตาม หรือ แรงดันเปลี่ยนแปลงลดลงผมก็ลดความถี่ลงให้เป็นสัดส่วนที่คงที่ค่าหนึ่ง <br>ถ้าทำอย่างนี้ได้ Torque จะคงที่ใช่หรือไม่ครับ ไม่ว่าแรงดันจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร (ยกเว้นว่าเปลี่ยนไปมากจนเกิดการ Over Voltage)<br><br>** ในกรณีนี้ผมกำลังพยายามสรุปว่า ถ้าผมใช้ INVERTER มาเป็น Supply motor แล้วจะสามารถแก้ปัญหา การเกิด Torque Fluctuation เนื่องจากแรงดันกระเพื่อมได้**ผมเข้าใจถูกไหม<br><br> 3. การแกว่งของ Rotor มาจากสาเหตุอะไรได้บ้างครับ นอกจากเรื่อง Vibration แล้วเรื่องที่เป็นผลมาจากระบบไฟฟ้ามีหรือไม่ครับ <br><br>
ความคิดเห็นทั้งหมด 3 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
torque
04/04/2549
17:28 น.
torque ของมอเตอร์ แปรพันตาม torque ของ load ครับ ส่วนสาเหตุการเกิด torgue ในระบบไม่คงที่มาจากจุดใหญ่ๆ 2 กรณีครับ<br>1.เกิดจาก load ไม่คงที่<br>2.เกิดจากตัวขับไม่คงที่ <br>หมายเหตุ การแกว่งในข้อที่3 ผมไม่ทราบว่าหมายความว่าอย่างไร หรือรอบไม่คงที่...หรือการ unblance <br>* inverter ในปัจจุบัน สามารถปรับ torque แปรพัน ตามload ได้อยู่แล้ว หรือ ควบคุมแบบ torque คงที่ก็ได้<br>
ความคิดเห็นที่ 2
ช่างซ่อมมอเตอร์
07/04/2549
11:19 น.
ขอให้ความเห็นอย่างนี้ครับตามคำถามที่ ถามมานะครับ<br><br>1. ถ้าแรงดันที่เข้ามอเตอร์มีการแกว่ง กระเพื่อมเปลี่ยนไปจากค่าเดิม มากบ้าง น้อยบ้าง จะมีผลกระทบต่อแรงบิดที่เกิดขึ้นในมอเตอร์หรือไม่ ผมหมายถึง <br>แรงบิดที่เกิดจากสภาวะแรงดันไม่ นิ่ง จะทำให้เกิดผลเสียหายอะไร ทำให้ ROTOR Crack ได้หรือไม่<br> การเปลี่ยนแปลงแรงดันเข้ามอเตอร์มีผลต่อความสามารถในการผลิตแรงบิดของมอเตอร์แน่นอนครับ แต่คงจะไม่ส่งผลมากจนกระทั่งทำให้เกิดการแครกที่โรเตอร์ได้ เท่าที่ทราบ ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรเตอร์ แครก มักจะมาจากการสตาร์ท มอเตอร์บ่อยๆ หรือ โหลดที่มีการ Fluctuation อย่างมาก<br><br>2. ถ้าในช่วงที่แรงดันเปลี่ยนแปลง สมมติเปลี่ยนแปลงมากขึ้นจากค่าเดิม แล้วผมสามารถปรับ ความถี่ขึ้นตาม หรือ แรงดันเปลี่ยนแปลงลดลงผมก็ลดความถี่ลงให้เป็นสัดส่วนที่คงที่ค่าหนึ่ง <br>ถ้าทำอย่างนี้ได้ Torque จะคงที่ใช่หรือไม่ครับ ไม่ว่าแรงดันจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร (ยกเว้นว่าเปลี่ยนไปมากจนเกิดการ Over Voltage<br>ใช่ครับความสามารถในการผลิตแรงบิดของมอเตอร์จะคงที่ครับ <br><br>3.ในกรณีนี้ผมกำลังพยายามสรุปว่า ถ้าผมใช้ INVERTER มาเป็น Supply motor แล้วจะสามารถแก้ปัญหา การเกิด Torque Fluctuation เนื่องจากแรงดันกระเพื่อมได้**ผมเข้าใจถูกไหม<br> อันนี้ไม่ทราบครับ เพราะยังมีประสพการณ์เกี่ยวกับ Application ของ VSD น้อยอยู่ คงต้องขอความเห็นจาก ผู้เชี่ยวชาญด้าน VSD<br><br>4. การแกว่งของ Rotor มาจากสาเหตุอะไรได้บ้างครับ นอกจากเรื่อง Vibration แล้วเรื่องที่เป็นผลมาจากระบบไฟฟ้ามีหรือไม่ครับ <br>การแกว่งของโรเตอร์ไม่ได้มาจาก Vibration แต่ Vibration มีสาเหตุมาจากการแกว่งของโรเตอร์ และความไม่สมดุลย์ทางสนามแม่เหล็ก และ อื่นๆ ซึ่งแน่นอนมีผลมาจากระบบไฟฟ้าที่ไม่สมดุลย์ เช่น แรงดันที่ไม่สมดุลย์
ความคิดเห็นที่ 3
ใครก็ไม่รู้
24/12/2552
18:08 น.
ให้กรอกอะไรก็ไม่รู้
ความคิดเห็นทั้งหมด 3 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง:
18 April 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD