Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,619
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,819
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 174,202
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 174,118
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,552
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,631
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,586
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,960
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 162,148
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,423
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,347
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,546
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 69,037
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,783
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,844
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,638
17 Industrial Provision co., ltd 40,728
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,356
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,323
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,643
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,546
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,863
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,296
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 32,117
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,543
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,553
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,926
28 AVERA CO., LTD. 23,649
29 เลิศบุศย์ 22,632
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,414
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,298
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,984
33 แมชชีนเทค 20,912
34 มากิโน (ประเทศไทย) 20,154
35 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 20,105
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,901
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,535
38 SAMWHA THAILAND 19,431
39 วอยก้า จำกัด 19,173
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,623
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,438
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,345
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,326
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,294
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 18,172
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 18,148
47 Systems integrator 17,721
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,691
49 Advanced Technology Equipment 17,526
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,481
09/03/2549 17:00 น. , อ่าน 15,710 ครั้ง
Bookmark and Share
ทำไมมอเตอร์ตัวใหญ่ๆ ต้องกำหนดให้ต่อ Delta
วิศวกรมือใหม่
09/03/2549
17:00 น.
ผมเห็นมอเตอร์ตัวใหญ่ๆ ที่ Name Plate มักจะกำหนดให้ต่อ Delta อย่างเดียว มันไม่สามารถที่จะต่อ Star ได้เหรอครับ เป็นเพราะอะไรครับ รบกวนผู้รู้ช่วยตอบด้วยครับ
ความคิดเห็นทั้งหมด 22 รายการ | 1  2    »
ความคิดเห็นที่ 1
พงษ์
10/03/2549
15:00 น.
น่าจะ star tแบบ star เพราะกินกระแสไฟฟ้าน้อยและลดการกระชากของมอเตอร์ แล้วค่อย run แบบ delta จะช่วยลดค่าใช้จ่ายได้มาก
ความคิดเห็นที่ 2
เล็ก
10/03/2549
20:44 น.
ต่อได้ครับ ใช้ตามระดับแรงดัน เช่น 380/660 ก็คือ ถ้าต่อแบบ Y ก็ใช้กันแรงดัน 660 V ส่วนถ้าต่อแบบ Delta ก็ใช้กับระดับแรงดัน 380 V ผมต่อมาเยอะแล้ว
ความคิดเห็นที่ 3
ช่างซ่อมมอเตอร์
12/03/2549
14:31 น.
ผมขอให้ความเห็นอย่างนี้ครับ<br><br>ในค่าระดับแรงดันเดียวกัน การออกแบบขดลวดให้มีการต่อ สตาร์ หรือเดลต้า จะมีผลต่อการใช้งานไม่มากนัก ( มอเตอร์ขนาดใหญ่ ) แต่จะมีผลต่อการออกแบบค่อนข้างมาก ตัวอย่างเช่น การเปรียบเทียบ มอเตอร์ 100 KW. 380 V. และมีการต่อเป็นแบบสตาร์ กับ มอเตอร์ 100 KW. 380 V. ที่มีการต่อแบบ เดลต้า ผมขอให้ความเห็นข้อดีข้อเสียอย่างนี้ครับ<br><br>1. การใช้งานมอเตอร์ที่ต่อแบบสตาร์ จะทำให้ลดฮาร์โมนิคส์ ที่ 3 และลดการเกิดกระแสไหลวน ที่เกิดจากความไม่สมดุลย์ของมอเตอร์ได้<br>2. การต่อแบบสตาร์ จะไม่สามารถใช้การสตาร์ท แบบ สตาร์- เดลต้า เพื่อลดกระแสในการสตาร์ทได้<br>3. ในทางปฏิบัติ การออกแบบมอเตอร์ จำนวนรอบที่ใช้พันมอเตอร์จะแปรผกผันกับขนาดมอเตอร์ และจะแปรผันตามขนาดแรงดันที่จ่ายให้กับขดลวดต่อเฟสของมอเตอร์ หมายความว่า มอเตอร์ขนาดใหญ่ ที่มีการต่อแบบสตาร์ จะต้องออกแบบ ให้มีจำนวนรอบต่อคอยล์ มีค่าน้อยกว่าการต่อแบบ เดลต้าเป็นค่า รูท 3 ทำให้เกิดเป็นอุปสรรคในการออกแบบ และบางกรณีไม่สามารถทำได้<br><br>จะเห็นได้ว่าเมื่อเปรียเทียบข้อดีข้อเสียแล้ว การใช้งานมอเตอร์ที่เป็นการต่อเดลต้าในมอเตอร์ขนาดใหญ่ ยังมีข้อดีมากกว่า ( ยกเว้นมอเตอร์ที่เป็น Medium Volt ที่จะมีเรื่องของระบบฉนวนและแรงดันStress ที่กระทำที่ขดลวดเข้ามาเกี่ยวข้อง ) มอเตอร์ขนาดใหญ่จึงออกแบบให้มีการใช้งานแบบเดลต้า
ความคิดเห็นที่ 4
iiecobkk@mweb.co.th
18/03/2549
13:56 น.
ถึงช่าง ซ่อมมอเตอร์ ฮาร์มอนิคส์ที่ 3 ที่วานั้นคืออะไรครับ จะเกิดในตอนสตาร์ทมอเตอร์ครั้งเเรกหรือปล่าว?<br>
ความคิดเห็นที่ 5
atum111
18/03/2549
14:19 น.
ถึงพี่ช่างซ่อม Motor ครับ<br>1.งั้นแสดงว่า ถ้าต่อแบบ Delta จะทำให้เกิด Harmonic ที3 ใช่ไหมครับ<br>2. การต่อแบบ Delta จะทำให้เกิดการไม่สมดุลย์ของกระแสใช่ไหมครับการไม่สมดุลย์ของกระแสที่เกิดขึ้นขึ้นอยู่กับสภาพของมอเตอร์ด้วยใช่ไหมครับ<br>3.การต่อแบบ Delta จะทำให้เกิด Harmonic ที่3 ใช่ไหมครับแล้ว Harmonic ที่3 มันจะไหลวนอยู่ในวงจร Delta ไม่ออกมาสงผลกระทบต่อระบบใช่ไหมครับ<br>4.งั้นมอเตอร์ที่กำหนดให้ต่อแบบ Delta 380 V อย่างเดียวก็เพื่อลดความยุ่งยากในการออกแบบ แล้วก็ราคาจะถูกลงใช่ไหมครับ ถ้าเทียบกับ Motor ที่ออกแบบให้ต่อแบบ Delta380V, Star 660V<br>ขอบคุณครับ<br>
ความคิดเห็นที่ 6
ช่างซ่อมมอเตอร์
20/03/2549
22:17 น.
ผมขอให้ความเห็น โดยตอบคำถามของคำตอบที่ 4 และ 5 ดังนี้ครับ<br><br>1. Harmonic ที่ 3 จะเกิดจากโครงสร้างการออกแบ หรือการวางขดลวด ( สแปน ) และ สแปนของมอเตอร์ยังมีส่วนในการออกแบบ กำลัง หรือ แรงม้าของมอเตอร์ ทำให้บางกรณี ต้องเลือกออกแบบเพื่อให้ได้แรงม้า จึงทำให้เกิด Harmonic ที่ 3 ขึ้น และถ้าเราไม่นำขดลวดมาต่อเป็น เดลต้า ก็จะไม่มีกระแส Harmonic ไหล<br><br>2. และแน่นอนว่า ถ้าเกิดความไม่สมดุลย์ของเส้นแรงแม่เหล็กเนื่องมาจากกระแสที่ไม่สมดุลย์ และมีการต่อเป็นแบบเดลต้า ก็ย่อมทำให้เกิดกระแสไหลวนขึ้นมาอีก ซึ่งแน่นอนว่ากระแสไหลวนทั้งสอง จะทำให้เกิดความร้อน<br><br>3. การต่อสตาร์หรือเดลต้า ไม่ได้ทำให้เกิด ฮาร์โมนิค หรือกระแสไหลวน แต่ เมื่อเกิดฮาร์โมนิค หรือเกิดความไม่สมดุลย์ทางสนามแม่เหล็ก การต่อใช้งานแบบสตาร์ จะลดผลกระทบได้มากกว่าครับ<br><br>4. มอเตอร์ที่เนมเพลท เป็น 380 โวลท์อย่างเดียวโดยมีการต่อใช้งานเป็นแบบ เดลต้า หรือมีเนมเพลท เป็น 380 / 660 โวลท์ เป็นมอเตอร์ประเภทเดียวกันครับ คือการต่อใช้งานขั้นสุดท้ายของการสตาร์ทแล้ว ต้องต่อเป็นแบบเดลต้า โดยใช้ไฟ 380 โวลท์ ( ยกเว้นแบบหลังสามารถใช้งานได้กับระบบไฟ 3 เฟส 660 โวลท์ถ้ามี )
ความคิดเห็นที่ 7
radiohead_engineer@hotmail.com
09/04/2549
22:11 น.
ถามช่างซ่อมมอเตอร์ผมอยากทราบวิธีการหาแรงบิดูงสุดของมอเตอร์ มีวิธีการหาอย่างไรครับ
ความคิดเห็นที่ 8
ช่างซ่อมมอเตอร์
10/04/2549
21:31 น.
หาดูได้จาก แคตตาล๊อกของมอเตอร์ยี่ห้อนั้นๆครับ
ความคิดเห็นที่ 9
กี้
01/05/2549
21:25 น.
ถ้าเรานำมอเตอร์ ที่แนมเพลท เขียนเป็น 380 โวลท์ เดลต้าอย่างเดียว ไปใช้กับไฟ 660 โวลท์ โดยต่อแบบ วาย จะมีปัญหามั้ยครับ<br>เพราะผมทำอยู่ประจำ ตอนเทสมอเตอร์ที่ซ่อมเสร็จก่อนติดตั้งใช้งานจริง เพราะแหล่งที่ใช้เทสที่มีอยู่ เป็นแบบปรับได้ 0-690 โวลท์ แต่พิกัดกระแสมันต่ำ จึงต้องใช้วิธิต่อแบบวาย
ความคิดเห็นที่ 10
ช่างซ่อมมอเตอร์
03/05/2549
22:30 น.
เป็นวิธีทดสอบที่ถูกต้องครับ ไม่มีปัญหาอะไร เพียงแต่เป็นการเลือกขนาดแรงดันมอเตอร์ให้เหมาะสมกับแหล่งจ่ายของเราเท่านั้น
ความคิดเห็นที่ 11
boon
03/09/2551
11:24 น.
มีวิธีที่เทสขดลวด stator โดยไม่มี rotor ได้อย่างไร<br>จึงจะรู้ว่าค่ากระแสที่ออกมาเวลาเทสมอเตอร์ตัวเปล่า<br>จะพอดี
ความคิดเห็นที่ 12
ช่างอ้น
12/11/2551
17:42 น.
รับซ่อมมอเตอร์ไฟฟ้าอุตสาหกรรม ทั้ง AC และ DC<br><br>โดยมีผู้ชำนาญงาน กว่า 10 ปี รับซ่อม ทั้ง ในสถานที่ และ นอกสถานที่ <br><br>รับประกันคุณภาพงาน<br> สนใจติดต่อ <br>038844096 , 087-0709463<br><br>มีความยินดี พร้อมที่จะให้บริการ รวดเร็วทันใจ ใกล้ที่ซ่อม<br>มีราคาย่อมเยา งานด่วน งานเร่ง เร่งได้ มีรถรับส่ง ตลอดเวลา
ความคิดเห็นที่ 13
ไม่รู้โว้ย
16/03/2552
15:05 น.
....เก่งนักคนไทยไม่เห็นมียี่ห้อเป็นของตัวเอง LIM ดีกว่า
ความคิดเห็นที่ 14
ไม่รู้ก็อยู่เฉยๆ
13/05/2552
00:45 น.
คำตอบที่ 13 นี่ก่อกวนชัดๆ
ความคิดเห็นที่ 15
โคราช มอเตอร์อุตสาหกรรม
19/05/2552
19:48 น.
รับซ่อม-พันมอเตอร์ทุกชนิด<br>มอเตอร์ขนาด 50 hp บริการรับ-ส่งฟรี<br>ปัญหามอเตอร์ของท่านจะกลายเป็นเรื่องเล็กทันที<br>ติดต่อ 044-929098 e-mail: <a href="mailto:koratmotor_ks@hotmail.com" Target="_BLANK">koratmotor_ks@hotmail.com</a>
ความคิดเห็นทั้งหมด 22 รายการ | 1  2    »
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง:
4 July 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD