30/01/2549 13:39 น. |
อยากรู้วิธีหาขนาดของ DROP PUSE ที่จะนำมาใช้งานกับหม้อแปลงไฟฟ้า ขนาด 1000KV/400V โดยที่ Drop Fuse มีขนาด 20A, 30A และ 40A ตามลำดับ |
02/02/2549 19:14 น. |
การป้องกันหม้อแปลง <br>หม้อแปลงจำหน่ายทั่วไปจะมีค่า percent impedance ค่อนข้างต่ำคือ 4 - 6 % ด้วยจุดประสงค์เพื่อต้องการให้มี Voltage Regulation ดีคือ ไม่ว่าโหลดของหม้อแปลงจะมีมากหรือน้อยเพียงใด แรงดันของหม้อแปลงก็ไม่เปลี่ยนแปลงมาก ยังมีความสม่ำเสมอของแรงดัน แต่ผลที่ตามมาคือจะทำให้กระแสลัดวงจรค่อนข้างสูงมากจึงต้องป้องกันหม้อแปลง โดยการติดตั้งฟิวส์ทั้งด้านแรงสูงและแรงต่ำ ซึ่งมีหลักการคร่าวๆ ดังนี้<br><br>1. หม้อแปลงแต่ละตัว ต้องมีอุปกรณ์ป้องกันโดยอิสระ<br>2. พิกัดฟิวส์แรงสูงของหม้อแปลง ควรมีขนาด 2-3 เท่า ของกระแสเต็มพิกัดหม้อแปลง<br><br><br> <br>ฟิวส์แรงสูง (Dropout Fuse) ฟิวส์แรงต่ำ <br><br>วัตถุประสงค์ของการใส่ฟิวส์คือป้องกันการลัดวงจร และการทำงานอย่างสัมพันธ์กัน (Co-ordination) ระหว่างฟิวส์แรงสูงและแรงต่ำ ไม่ใช่ป้องกันการ over load ของหม้อแปลง เพราะฟิวส์จะขาดที่กระแสประมาณ 2 เท่าของพิกัดฟิวส์ โดยต้องการให้ฟิวส์ในระบบแรงต่ำขาดก่อนถ้าหากเกิดการลัดวงจรในระบบแรงต่ำขึ้น <br><br>ตัวอย่างการหาขนาดฟิวส์แรงสูงของหม้อแปลง<br>หม้อแปลงขนาด 50 KVA 3 เฟส 4 สาย 22,000 - 400/230 V. จงหาขนาดฟิวส์แรงสูงที่เหมาะสม<br><br>วิธีทำ<br> คำนวณหากระแสเต็มพิกัดด้านแรงสูง = 50 KVA / (1.732 x 22 KV) = 1.3 A<br> เลือกใส่ฟิวส์ขนาด 3 A.<br><br> <br> |
30/03/2550 14:02 น. |
อยากได้รายงานเรื่องฟิวส์แรงสูงครับ |
07/06/2550 09:01 น. |
ขอคำตอบเรื่องฟิวส์แรงสูงหน่อยค่ะจะเอาไปทำรายงานส่งพรุ่งนี้<br><br> |
04/09/2550 11:40 น. |
ขอคำตอบเรื่องฟิวส์แรงสูงหน่อยค่ะจะเอาไปทำรายงานส่งพรุ่งนี้ |
04/09/2551 08:44 น. |
การเปลี่ยนไม้ลองมิเตอร์<br> |
04/09/2551 08:45 น. |
การตอสายไฟแรงสูง |
29/05/2552 10:51 น. |
ฟิวส์คืออุปกรณ์ป้องกันชนิดหนึ่ง |