Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 176,798
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,171
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,457
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,452
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,913
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,029
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,006
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,295
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,145
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,818
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,773
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,973
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,317
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,815
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,160
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,053
17 Industrial Provision co., ltd 39,849
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,798
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,713
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,041
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,974
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,322
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,741
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,469
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,975
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,969
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,347
28 AVERA CO., LTD. 23,102
29 เลิศบุศย์ 22,062
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,820
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,713
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,327
33 แมชชีนเทค 20,316
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,575
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,545
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,286
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,963
38 SAMWHA THAILAND 18,740
39 วอยก้า จำกัด 18,405
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,978
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,824
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,759
43 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,725
44 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,670
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,602
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,595
47 Systems integrator 17,156
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,100
49 Advanced Technology Equipment 16,934
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,898
27/09/2548 21:18 น. , อ่าน 3,915 ครั้ง
Bookmark and Share
Y-D กระสูงมากบางครั้ง เป็น 2000 A ไม่เข้าใจ
งงงง
27/09/2548
21:18 น.
มอเตอร์ขนาด 132 kW 400VD/690VY, 2 Pole, 50Hz, Normal Rated current 225 A ขับโหลด compressor มีทั้งหมด 4 ชุดเหมือนกัน ต่อวงจร Y-D เหมือนกัน มีอยู่ตัวหนึ่ง กระแสช่วงเปลี่ยนสูงถึง 2000 A ประมาณ 5 ms ช่วงเปลี่ยน บางครั้งก็เป็น บางครั้งก็ไม่เป็น3-5 คั้งจึ่งจะเป็นครั้งหนึ่ง ทดสอบโดยไม่ได้ต่อโหลด มอเตอร์ตัวเปล่า สายทั้งระบบไม่หลวม เอาชุด Y-D ตัวอื่นมาเปลี่ยนก็ไม่หาย Breaker พังไปแล้ว 2 ตัว บางครั้งที่เป็น กระแทกไปทั้งตู้ breaker เลย มอเตอร์ตรวจสอบแล้วก็ปกติ เวลาสวิทช์จาก Y-D ดีดแล้วมากกว่า 270 ms ปรามาจารย์ดูแล้วหลายท่าน หาไม่เจอสาเหตุ <br>Harmonics? แล้วทำไมอีก 3 ตัวไม่เป็น<br>สายขาด ขั้วหลวม? ตรวจสอบแล้ว ไฟครบ เปลี่ยนใหม่แล้ว ใช้ Bus เดียวกับอีก 3 ตัว<br>Y-D ดีดช้า? จ้างคนมาวัดแล้ว 270 ms เว้นนานเพียงพอ<br>โหลดช๊อก? ทดสอบมอเตอร์ตัวเปล่า<br>มอเตอร์เสีย? ยกไปทดสอบที่ work shop แล้ว ดีทุกประการ ไม่มีปัญหา Y-D ก็ดี DOL ก็ดี<br>ใครเคยเจอสาเหตุแบบนี้บ้างไหม แก้ไขอย่างไร?
ความคิดเห็นทั้งหมด 9 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
ช่างซ่อมมอเตอร์
28/09/2548
11:31 น.
ผมขอให้ความเห็นอย่างนี้ครับ<br>เมื่อพิจารณาจากข้อมูลที่บอกมา พอสรุปเรื่องได้ดังนี้<br>1. ปัญหาน่าจะเกิดจากมอเตอร์ เพราะเมื่อเปลี่ยนชุดคอนโทรลแล้วปัญหาก็ยังไม่หาย<br>2. แต่ผลการทดสอบที่โรงซ่อมได้ข้อสรุปว่า มอเตอร์ปกติ<br><br>ก่อนจะให้ความเห็น อยากขอข้อมูลเพิ่มเติมนิดนึง<br>1. มอเตอร์ตัวนี้เคยซ่อมมาแล้วหรือยัง<br>2. กระแสมอเตอร์ขณะเดินโหลด มีค่าเป็นอย่างไร มีค่าเท่ากันทุกเฟส หรือไม่<br>3. อยากทราบค่าความต้านทานขดลวดจากผลการทดสอบของโรงซ่อม<br>4. มอเตอร์เคยสลับตำแหน่งไปติดตั้งกับตัวที่ปกติหรือไม่
ความคิดเห็นที่ 2
กี้
28/09/2548
20:53 น.
ขอถามมั่ง<br><br>- แล้วตอนที่เป็นจังหวะ ที่เป็น Y กระแสอยู่ที่เท่าไร ครับ<br>- แล้วช่วงที่จะเปลี่ยนจาก Y เป็น D มอเตอร์หมุนได้ความเร็วเท่าไร เข้าใกล้ซิงโครนัส สปีดยัง <br>- มอเตอร์ ขณะที่สตาร์ท มีโหลดอยู่หรือปล่าว แต่ปกติแล้วcompressor ไม่มีโหลดขณะสตาร์ท เป็นไดเรคคัปลิ้ง หรือสายพาน<br>- ลองเปรียบอาการขณะสตาร์ท กับตัวปกติเหมือนหรือต่างกันอย่าง<br>- แล้วคุณใช้อะไรวัดว่า กระแสสูงอยู่ 5mS <br>- ตู้กระแทกทั้งตู้ แมกเนติก คอนแทคเตอร์ ยังดีอยู่ปล่าว<br>- แล้วWork shop ที่เอามอเตอร์ไปทดสอบเขาทดสอบอะไรบ้างชื่อบริษัทอะไร<br>- ลองให้บริษัทอื่นเขาเอาไปทดสอบดูน่าจะดี
ความคิดเห็นที่ 3
งงงง
01/10/2548
09:05 น.
มอเตอร์ตัวนี้เคยซ่อมมาแล้ว ครั้งหนึ่ง ค่าความต้านทานเท่ากันทุกเฟส<br>กระแสมอเตอร์ขณะเดินโหลด มีค่าเท่ากันทุกเฟส <br>มอเตอร์ไม่เคยสลับตำแหน่งไปติดตั้งกับตัวที่ปกติ ตัวมันใหญ่ ทำยาก ใช้เงินเยอะ<br>ตอนที่เป็นจังหวะ ที่เป็น Y กระแสอยู่ที่ปกติ ประมาณ 500 A เท่ากันทุกเฟส <br>ช่วงที่จะเปลี่ยนจาก Y เป็น D มอเตอร์หมุนได้ความเร็ว เกือบ 2900 รอบ <br>มอเตอร์ ขณะที่สตาร์ท ทดสอบที่ไม่มีโหลด ไม่ได้ต่อคลัปปลิ้ง<br>ลองเปรียบอาการขณะสตาร์ท กับตัวปกติ บางครั้งดี 2-3 ครั้ง ปกติ แล้วก็เป็นครั้งหนึ่ง<br>แล้วคุณใช้อะไรวัดว่า กระแสสูงอยู่ 5mS Digital Fluk scope<br>Work shop ที่เอามอเตอร์ไปทดสอบเขาทดสอบอะไรบ้าง startทุกประการเหมือนของจริง 6 ครั้ง ดีไม่มีที่ติ พร้อมชุด Y-Dตัวเดียวกัน เป็น Work shop ที่ใหญ่ และเก่าแก่ที่สุดของประเทศ<br>ลองให้บริษัทอื่นเขาเอาไปทดสอบดูน่าจะดี ค่าใช้จ่ายครั้งละ 50,000-80,000 บาท Work shop ที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ ยังหาไม่เจอเลยครับ มีที่ไหนแนะนำหน่อย<br>ปรมาจารย์ถามอย่างนี้ทุกราย แล้วก็งง 4 เดือนแล้วครับ กำลังหาผู้รู้<br>
ความคิดเห็นที่ 4
ช่างซ่อมมอเตอร์
01/10/2548
17:06 น.
สนใจที่จะลองเข้าไปแก้ปัญหาครับ กรุณาเมล์เบอร์โทรศัพท์มาที่ <a href="mailto:motor@asianet.co.th" Target="_BLANK">motor@asianet.co.th</a><br>
ความคิดเห็นที่ 5
งงงง
02/10/2548
22:05 น.
ตอนนี้มีคนแนะนำให้เปลี่ยนสายเมนใหม่ ผู้รับเหมาอาจจะใช้สายต่อภายในท่อซ่อนเอาไว้ ถ้าแก้ไม่หายจะเชิญมาครับ กำลังเดินสายใหม่อีกชุด
ความคิดเห็นที่ 6
กี้
04/10/2548
23:48 น.
ทำไมไม่ลอง ใช้สายเมน ของตัวที่เป็นปกติ ลองดูก่อนละ<br>ก่อนเดินสายเมน ใหม่นะ
ความคิดเห็นที่ 7
กี้
04/10/2548
23:55 น.
" Work shop ที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ และเก่าแก่ที่สุดของประเทศ "<br><br>คุ้นๆนะ เหมือนเคยได้ยินที่ไหนมา ใช้ที่เดียวกับที่ผมเคยซ่อมหรือปล่าวนี้<br>
ความคิดเห็นที่ 8
aaaa
07/10/2548
16:17 น.
1 check moter coil ว่าจัด ทิศทางขดลวดถูกหรือไม่<br> U1......U2 <br> V2.......V2 <br>W1.......W2<br>2 ลองย้ายมอเตอร์ที่มีปัญหา มาTest กับตู้ที่ทำงานปกติ<br>3 ปัญหาน่าจะเกิดที่ ขดลวดมอเตอร์ <br><br>
ความคิดเห็นที่ 9
tinamic.com
15/10/2548
09:42 น.
เขียนตอบให้อยู่ เรื่องมันยาว ให้ต่อวงจรแบบ Star-Delta พร้อมการป้องกันทรานเชี่ยน (Close transition star-delta starting) ในช่วงที่สับสวิทช์เปลี่ยนจาก Y ไปเป็นการต่อแบบ &amp;#916; ในบางครั้งอาจจะทำให้เกิดปัญหา มุมการต่างเฟสจากระบบไฟฟ้าที่จ่ายอีกครั้ง และสนามแม่เหล็กหมุนที่ยังคงตกค้างในขดลวดมอเตอร์ อยู่ในต่ำแหน่งเวกตอร์ทางไฟฟ้า ที่ตรงข้ามกัน เปรียบเสมือนมอเตอร์ทำหน้าที่เป็นเครื่องกำเนิดไฟฟ้าชั่วคราว เมื่อสับสวิทช์จะทำให้เกิด Transient phenomena เกิดกระแสไหลชั่วขณะสูงมาก เสมือนการลัดวงจร อาจจะถึง 10 เท่าของพิกัดกระแสมอเตอร์ ซึ่งเร็วมาก เกิด mechanical shocks ทั้งระบบได้<br>หากเกิดอาการเช่นที่ว่านี้ ไม่ได้เกิดทุกครั้ง หรือเกิดเป็นบางครั้ง ในตำแหน่งช่วงจังหวะที่จะเปลี่ยนโหมดการทำงานจาก Y- &amp;#916; อาจจะต้องเพิ่ม transition คอนเทคเตอร์ ที่ต่ออนุกรมกับตัวต้านทาน ซึ่งคอนเทคเตอร์จะทำงานเป็นการต่อตัวต้านทานคั่นกลางหลังจากทำงานจากโหมด Y อย่างน้อย 50 msec ก่อนที่จะเปลี่ยนเป็นโหมดเดลต้า จะทำให้สามารถลดกระแสทรานเชี่ยนสูงระหว่าการสับ &amp;#916; ออกไปได้ รายละเอียดวงจร กำลังส่งให้ web master up load ตอบให้เป็นบทความอยู่ครับ<br><br>
ความคิดเห็นทั้งหมด 9 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง:
23 November 2024
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD