09/09/2548 11:07 น. |
การวัดค่า L คือ ผมได้เลือกซื้อ L มา 10 mH( 5 A ) ผมไปทำการทดลองหาค่า L โดยการทดลองแบบ จ่ายกระแสให้กับ L โดยเพิ่มที่ละ 0.5 A โดยจะวัดค่าพลังงาน (W) แรงดัน(V)และกระแส(I)เพื่อจะหามุมเฟส เอามาคำนวณหาค่า L <br>อยากถามว่า ทำไมค่า L ที่ผมวัดและคำนวณได้ที่ ค่ากระแสต่างจึงมีค่าไม่เท่ากัน <br>โดยในทางทฤษฎีแล้ว มันน่าจะเท่ากันเมื่อมันเป็น L ค่าเดียวกัน และแนวทางแก้ไขควรทำอย่างไรครับ |
09/09/2548 15:31 น. |
คุณหายังไงผมไม่เข้าใจ แล้ว L เกี่ยวอะไรกับ (W)<br>คุณก็แค่ เอา (V) หารด้วย (I) ก็จะได้ X <br>จะได้ L = X/100Pi |
14/09/2548 01:52 น. |
ถามหน่อยน๊ะครับ ความถี่ที่ใช้วัดมีค่าเท่าไร สำหรับเพาเวอร์ซัพพลาย ถ้าเป็นกระแสตรง ค่าแอลจะเกิดขึ้นเพียงเสี้ยววินาที คุณวัดยังไงทันครับ สโคปยังจับไม่ได้เลย นอกจากคุณมีสตอเรจ ออสซิลโลสโคป<br>คุณใช้อุปกรณ์ใดในการวัดค่าวัตต์ ถ้าเป็นวัตต์มิเตอร์หรือคำนวณเอา คุณคิดว่าค่าอาร์เพียวมีผลกับวัตต์ที่หาได้หรือไม่ ผมก็ยังไม่เข้าใจว่ามีค่ากระแส แรงดัน วัตต์ แล้วคุณจะทราบมุมเฟสได้ งงครับ<br>สรุปว่าจะหาไปทำไมนิ ผมสงสัยว่าคุณเข้าใจว่าวัตต์กับ ค่าความเหนี่ยวนำ เป็นค่าเดียวกันหรือเปล่าครับ สำหรับทางแก้ไขนั้น ไม่ทราบเหมือนกันแต่จากการที่ คุณปรับ กระแสที่แหล่งจ่ายแรงดันนั้น มีผลให้ค่าความต้านทาน ของแหล่งจ่ายกระแสภายใน เกี่ยวกับ เทวินิน นอร์ตัน มีผลต่อการส่งถ่ายกำลังสูงสุดครับ ลองไปหาดูครับ |
13/09/2551 20:35 น. |
อินดักเตอร์คืออะไร<br> |
01/11/2556 03:42 น. |
ขอสอบถามหน่อยครับ ข้อ1 : ถ้าเป็นอินดักเตอร์จะมีปัญหาการระเบิดหรือไม่ ข้อ2 : คาปาซิเตอร์ทำไมถึงระเบิดได้ สาเหตุ ขอบคุณครับ |
06/10/2561 19:47 น. |
อิดัคเตอร์ไหม้ได้ถ้าใช้เกินพิกัดกระแส คาปาซิสเตอร์ระเบิดได้ถ้าเกินพิกัดแรงดัน |