Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,250
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,527
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,834
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,801
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,260
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,332
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,301
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,672
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,692
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,138
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,071
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,288
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,718
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,488
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,499
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,372
17 Industrial Provision co., ltd 40,440
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,099
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,027
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,358
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,257
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,614
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,036
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,828
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,260
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,278
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,637
28 AVERA CO., LTD. 23,392
29 เลิศบุศย์ 22,351
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,114
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,016
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,667
33 แมชชีนเทค 20,604
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,851
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,834
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,628
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,267
38 SAMWHA THAILAND 19,101
39 วอยก้า จำกัด 18,796
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,328
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,122
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,066
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,010
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,007
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,908
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,902
47 Systems integrator 17,451
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,414
49 Advanced Technology Equipment 17,229
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,218
21/08/2548 21:02 น. , อ่าน 3,442 ครั้ง
Bookmark and Share
สนามแม่เหล็กอิ่มตัว
กี้
21/08/2548
21:02 น.
เกิดสนามแม่เหล็กอิ่มตัวseparate field จะแก้ไขอย่างไรดี<br><br>ได้รับดีซีมอเตอร์ มาตัวหนึ่ง มีปัญหาที่ อาร์เมเจอร์ แอมป์สูง ที่ประมาณ 155 แอมป์จาก เนมเพลท 160 แอมป์ แต่อาร์เมเจอร์โวล์ท 250 โวล์ท จากเนมเพลท 460 โวล์ท ขณะใช้งาน โดยที่ ฟิลด์ แอมป์ 2.0 แอมป์ จากเนมเพลท 3.0 แอมป์ ฟิลด์ โวล์ท ที่ 210 โวล์ท จากเนมเพลท 300โวล์ท จะพยายามสปีด แต่วัดไม่ได้เนื่องจากเครื่องจักรทำงานอันตราย ( ลืมวัดที่ เทคโคด้วย ) เลยทดลองปรับชุดไดร์ให้จ่ายฟิลด์ แอมป์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จะถึง 3.2 แอมป์ แต่ไม่สามารถลดแอมป์อาร์เมเจอร์ลงได้เลย<br><br>ที่ผมคิดสาเหตุน่าจะมาจากสนามแม่เหล็กอิ่มตัวแล้ว<br>คุณช่างซ่อมคิดว่าที่ผมคิดใช่เหรอปล่าวครับบบบ<br>หรือน่าจะมาจากสาเหตุอื่นอีก<br> แล้วมีแนวทางแก้ไขเฉพาะหน้าอย่างไรครับ<br>ตัวนี้เป็นแบบไดเร็ค คับปลิ้ง เข้ากับชุดเกียร์ ทีแรกคิดจะเปลี่ยนอัตราทดเกียร์ เสนอความคิดกับหัวหน้าแล้ว แต่เขามีโครงการจะเปลี่ยน เป็น เอซีไดรว์แล้วแต่ยังไม่ถึงแต่เวลา ต้องหาวิธีแก้ปัญหาเฉพาะหน้าไปก่อน <br>ตอนนี้เปลี่ยนใส่มอเตอร์สแปร์ไปแทนแล้ว ส่งมอเตอร์ให้ร้านซ่อมไปแล้วด้วย ก้อลองคุยเรื่องนี้กับวิศวกรของร้านแล้ว ก้อดูจะไม่รู้เรื่องอะไรเลย ก้อเลยลองไปปรึกษากับผู้จัดการร้าน ( น่าจะเป็นเถ้าแก่มากกว่า ) ก้อเหมือนพูดกันคนละภาษาเลย มั่วสุดๆ ก้อเลยอยากจะขอความช่วยเหลือจากผู้รู้และคุณช่างซ่อม จะได้เอาแนวทางไปให้ร้านมันทำ<br><br>ขอบคุณครับ<br><br>
ความคิดเห็นทั้งหมด 7 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
ช่างซ่อมมอเตอร์
23/08/2548
17:45 น.
ขอข้อมูลเพิ่มเติมนิดนึงครับ<br>1. KW. ของมอเตอร์ที่ถอดออกไป<br>2. เนมเพลทของมอเตอร์ใหม่ที่เป็นตัวสแปร์<br>3. ผลการวัดค่ากระแส และ โวลท์ ของฟิลด์ และอาร์เมเจอร์ ของมอเตอร์สแปร์ หลังการติดตั้งใช้งาน<br>4. มอเตอร์ตัวที่ถอดออกและมอเตอร์สแปร์ถูกรัน ในสภาวะเดียวกันหรือไม่ เช่น ผลผลิตสินค้าที่ได้ออกมาเท่ากันหรือไม่<br>
ความคิดเห็นที่ 2
กี้
24/08/2548
22:42 น.
ตอบ<br>1. 64.5กิโลวัตต์ เท่ากัน<br>2.460 โวลท์ 161 แอมป์<br> ฟิลด์ 330 โวลท์ 3.0 แอมป์<br><br>3. 340 โวลท์ 114 แอมป์<br> 250 โวลท์ 2.4 แอมป์<br>4.รันเหมือนกัน อัตราเร็ว เท่ากัน
ความคิดเห็นที่ 3
ช่างซ่อมมอเตอร์
25/08/2548
19:35 น.
จากข้อมูลที่ให้มาผมขอให้ความเห็นอย่างนี้ครับ<br><br>1. มอเตอร์ 2 ตัวมีขนาดเท่ากัน และพิกัดเหมือนกัน<br> 2. ตัวที่มีปัญหา น่าจะถูกซ่อมมาแล้ว โดยเฉพาะ การพันฟิลด์คอยล์ใหม่<br> 3. สาเหตุที่ทำให้อาร์เมเจอร์มีกระแสสูง เนื่องจากมอเตอร์รันในสภาวะ ฟิลด์วีคเคนอยู่<br> 4. ฟิลด์วีคเคน ที่เกิดขึ้นทั้งๆที่ป้อนแรงดันฟิลด์ เต็มพิกัด อาจจะเกิดจากความผิดปกติของขดลวดฟิลด์ หรือ การซ่อมที่ไม่ถูกต้อง<br> 5. ลองให้ร้านที่ส่งมอเตอร์ไปซ่อมวัดค่าความต้านทานฟิลด์เปรียบเทียบกับต้วที่ปกติดู ซึ่งน่าจะได้ผลออกมาไม่เท่ากัน<br> 6. มีโอกาสเหมือนกันที่อาจเกิดความผิดปกติที่โรเตอร์ หรือ อาร์เมเจอร์ แต่น่าจะมีโอกาสน้อย<br>
ความคิดเห็นที่ 4
กี้
25/08/2548
21:42 น.
ฟิลด์ วีคเคน คืออะไรครับ<br>
ความคิดเห็นที่ 5
กี้
25/08/2548
21:57 น.
แล้วถ้ามันเกิดจากสาเหตุ ที่ผมคิด ( สนามแม่เหล็กอิ่มตัว ) จะมีทางแก้ไขอย่างไรครับ จะหาทางเพิ่มปริมาณสนามแม่เหล็กอย่างไรดี มีตัวแปรตัวไหน บางที่มีผลต่อปริมาณการเพิ่มสนามแม่เหล็ก <br><br>ระยะห่างของเมนโปลกับโรเตอร์ ( AIR GAP ) มันจะมีผลหรือปล่าวนะครับ
ความคิดเห็นที่ 6
ช่างซ่อมมอเตอร์
26/08/2548
21:42 น.
ฟิลด์วีคเคน เป็นการใช้งานมอเตอร์ ในสภาวะที่จ่ายแรงดันและกระแสให้กับขดลวดชุดฟิลด์ ไม่เต็มพิกัดทำให้ เส้นแรงแม่เหล็กที่เมนโปลผลิตออกมาไม่เท่าพิกัด มีผลให้แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำย้อนกลับ ( Back EMF. ) ที่อาร์เจอร์ลดลง ผลที่ตามมาคือ ผลต่างระหว่างแรงดันที่ป้อนอาร์เจอร์กับ Back EMF. มีค่ามากขึ้นจึงส่งผลทำให้กระแสอาร์เจอร์สูงขึ้น <br>แต่ในกรณีนี้ผมคิดว่า เนื่องจากมีความผิดปกติเกิดขึ้นที่ฟิลด์คอลย์จึงทำให้ ถึงแม้จะจ่ายกระแสเท่าพิกัด แต่เส้นแรงแม่เหล็กที่ผลิตได้ ไม่เท่าพิกัด<br><br>ส่วนเรื่องสนามแม่เหล็กอิ่มตัว เมื่อพิจารณาจากข้อมูลผมคิดว่าสนามแม่เหล็กอิ่มตัวไม่ใช่สาเหตุครับ<br><br>ระยะห่างระหว่างเมนโปลกับโรเตอร์ มีผลแน่นอนต่อกระแส อาร์เมเจอร์ เพราะทำให้ความต้านทานสนามแม่เหล็กเพิ่มขึ้นจึงต้องทำให้ต้องใช้ แรงเคลื่อนแม่เหล็กที่เพิ่มขึ้นในการทำให้ได้แส้นแรงแม่เหล็กไปทำให้เกิดแรงบิดเท่าเดิม แรงเคลื่อนแม่เหล็กที่เพิ่มขึ้นจะได้จากกระแสอาร์เมเจอร์ที่เพิ่มขึ้น
ความคิดเห็นที่ 7
-ภ-ภ
03/06/2552
15:52 น.
การอิ่มตัวหมายถึงอะไร<br><br>
ความคิดเห็นทั้งหมด 7 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง:
4 April 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD