Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,249
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,525
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,833
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,798
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,257
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,330
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,299
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,668
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,689
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,135
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,070
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,287
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,717
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,485
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,497
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,368
17 Industrial Provision co., ltd 40,437
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,098
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,026
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,357
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,256
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,613
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,034
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,826
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,257
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,276
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,636
28 AVERA CO., LTD. 23,390
29 เลิศบุศย์ 22,350
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,113
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,015
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,666
33 แมชชีนเทค 20,603
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,850
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,832
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,627
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,265
38 SAMWHA THAILAND 19,098
39 วอยก้า จำกัด 18,793
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,325
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,121
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,064
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,009
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,005
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,907
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,900
47 Systems integrator 17,449
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,412
49 Advanced Technology Equipment 17,228
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,215
19/07/2548 18:26 น. , อ่าน 2,604 ครั้ง
Bookmark and Share
เรียนถาม ช่างซ่อมมอเตอร์ และผู้รู้ทุกท่าน
Drives
19/07/2548
18:26 น.
ผมอยากทราบว่า ถ้าเราใช้โครงมอเตอร์ 3 เฟส 20Hp 220/380V แล้วนำมาพันใหม่เพื่อให้พิกัดแรงดันต่ำลง เช่น ให้แรงดัน Line-to-Line = 100V ที่ 20 Hp เท่าเดิมจะได้มั้ยครับ และต่ำสุดได้กี่โวลท์ครับ
ความคิดเห็นทั้งหมด 3 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
ช่างซ่อมมอเตอร์
20/07/2548
10:20 น.
ขอให้ความเห็นอย่างนี้ครับ<br><br>คำถามแรก น่าจะฟันธงได้เลยว่าได้ครับ เพราะจากประสบการณ์ ส่วนมากแล้วสามารทำได้ ไม่น่าจะมีปัณหาอะไร แต่มีโอกาสเหมือนกันตามรายละเอียดด้านล่าง<br><br>คำถามที่สอง การเปลี่ยนค่าแรงดันพิกัดให้ต่ำที่สุด โดยมีเงื่อนไขให้แรงม้าเท่าเดิม ความถี่ใช้งานเท่าเดิม และความเร็วรอบเท่าเดิม ตามทฤษฏีสามารถทำได้ทุกค่าแรงดันที่ต้องการ แต่มีข้อจำกัดในทางปฏิบัติอย่างนี้ครับ<br><br>1. ค่าแรงดันพิกัดของมอเตอร์ใหม่ ค่ากำลังของมอเตอร์ จะแปรผันตามจำนวนรอบที่ใช้พันมอเตอร์ ฉะนั้นหากการคำนวณ คำนวณได้เป็นเลขทศนิยม จะทำให้เราไม่สามารถพันมอเตอร์เป็นเศษของจำนวนรอบได้ ทำให้เราต้องปัดขึ้นหรือปัดลง ผลของการปัดเศษขึ้นจะทำให้มอเตอร์มีแรงม้าที่ต่ำลง และถ้าปัดลงก็จะทำให้แรงม้าเพิ่มขึ้น<br><br>2. หากการคำนวณในข้อที่ 1 ได้ผลการคำนวณมาเป็นเศษทศนิยมยังพอที่จะมีตัวช่วยอยู่ครับ คือ การปรับสแปนของขดลวดให้กว้างขึ้นหรือแคบลง ฉะนั้น การปรับสะแปนได้มากน้อยเท่าใด จำนวนสล็อตจะมีผลขึ้นมาทั้นที<br><br>3. ตัวที่น่าจะมีผลที่สุดจะเป็น พื้นที่หน้าตัดของลวดที่ใช้ในการพันมอเตอร์ เพราะในการคำนวณ ค่าของกระแสพิกัดค่าใหม่ เกือบจะเปลี่ยนเป็นอัตราส่วนที่เท่ากัน ( ถ้าเราพิจารณาให้ PF คงที่ ซึ่งจริงๆจะมีการเปลี่ยนแปลงตามจำนวนรอบ ที่ใช้พันแต่ไม่มาก ) เช่น ถ้าลดแรงดันไป 10 เท่า กระแสก็จะเพิ่มไปเป็น 10 เท่าเช่นเดียวกัน ปัณหาของการเพิ่มของกระแสจะอยู่ที่มอเตอร์ จะต้องการพื้นที่หน้าตัดของลวด 10 เท่าเช่นเดียวกันเพื่อทำให้ Temp Rise เท่าเดิม เมื่อพื้นที่ในสล็อตเท่าเดิมลวดใหญ่ขึ้นกับจำนวนรอบที่ลดลงก็จริง แต่พื้นที่หน้าตัดลวดที่ใหญ่จะต้องเปลี่ยนลวดมาใช้ลวดแบนในการพัน ซึ่งจะทำได้ค่อนข้างลำบาก หรือไม่ได้เลย เนื่องจากมอเตอร์ทั่วไปสล็อตของมอเตอร์จะเป็นแบบ Semi Slot ที่มักใช้สำหรับลงลวดกลม แต่ถ้าใช้ลวดกลมหลายๆเส้นมาขนานกัน ช่องว่างระหว่างเส้นจะเป็นตัวทำให้พื้นที่สำหรับใส่ลวดเล็กลง<br><br> 4. สิ่งที่ต้องพิจารณษเพิ่มเติมคือ ระบบฉนวนที่ใช้ เพราะ การออกแบบขดลวดที่แรงดันต่ำจะโฟกัสไปที่การระบายความร้อนออกจากมอเตอร์ในขณะที่ของเดิมจะออกแบบมาในการทนแรงดันของระบบฉนวน ซึ่งจะต้องมีการพิจารณาในส่วนนี้ด้วย<br><br> สรุป ถ้าการออกแบบในส่วนแรก ( แรงดัน และแรงม้า ) ถ้าสามารถลงขดลวดได้ตามค่าแรงดันและพิกัดที่คำนวณได้ ในความคิดแล้ว ( เพราะไม่เคยออกแบบลดพิกัดแรงดันในย่านเดียวกัน Low volt - Low volt ) เราจะไม่มีโอกาสที่จะทำให้ลวดมีขนาดใหญ่ตามที่คำนวณได้ นั่นก็หมายความว่าเราจะไม่สามารถใช้งานเท่าพิกัดที่คำนวณได้ เพราะมอเตอร์จะร้อนมาก ทำให้เราต้องใช้งานที่ต่ำกว่าพิกัดแรงม้า
ความคิดเห็นที่ 2
Drives
20/07/2548
16:42 น.
ขอบคุณ ช่างซ่อมมอเตอร์ มากนะครับที่ได้ให้ความรู้ตรงนี้<br><br>ขอบคุณครับ
ความคิดเห็นที่ 3
ช่างมือใหม่
07/01/2553
14:10 น.
อยากพันมอเตอร์มิตซูขนาด 1 แรง 1 เฟส ที่ใหม้แล้ว เป็น 1.5 แรง 3 เฟส จะใช้ลวดเบอเท่าไร พันกี่รอบ ผมเคยซอ่ม 1.5 แรง 3เฟส มาบ้างแล้ว ใช้งานได้ดีปกติ จำเป็นตอ้งเรียนรู้ทำเอง เพราะมีมอเตอใช้งานอยู่กว่าสิบลูก ขอขอบคุณลว่งหน้าครับ
ความคิดเห็นทั้งหมด 3 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง:
4 April 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD