Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,619
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,819
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 174,202
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 174,118
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,552
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,631
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,586
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,960
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 162,146
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,423
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,347
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,546
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 69,036
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,783
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,843
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,638
17 Industrial Provision co., ltd 40,727
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,356
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,323
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,642
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,545
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,863
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,296
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 32,116
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,543
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,553
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,926
28 AVERA CO., LTD. 23,649
29 เลิศบุศย์ 22,632
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,414
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,298
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,983
33 แมชชีนเทค 20,912
34 มากิโน (ประเทศไทย) 20,154
35 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 20,105
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,901
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,535
38 SAMWHA THAILAND 19,431
39 วอยก้า จำกัด 19,173
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,623
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,438
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,345
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,325
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,294
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 18,172
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 18,148
47 Systems integrator 17,721
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,691
49 Advanced Technology Equipment 17,526
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,481
17/06/2548 14:54 น. , อ่าน 3,419 ครั้ง
Bookmark and Share
ถามพี่เสือ แล้วมอเตอร์แต่ละ class สามารถใช้ inverter control ได้มั๊ย , inverter มีผลต่ออุณหภูมิมอเตอ
gt.f
17/06/2548
14:54 น.
ถามพี่เสือ แล้วมอเตอร์แต่ละ class สามารถใช้ inverter control ได้มั๊ย , inverter มีผลต่ออุณหภูมิมอเตอร์หรือเปล่า
ความคิดเห็นทั้งหมด 6 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
ช่างซ่อมมอเตอร์
18/06/2548
12:08 น.
ขอแสดงความคิดเห็นนะครับ<br><br>คลาสของมอเตอร์จะเป็นตัวบอกอัตราการทนอุณหภูมิได้ของระบบฉนวนของมอเตอร์ ที่เกิดขดลวดของมอเตอร์ผลิตขึ้นมาขณะทำงาน<br><br>แต่การใช้งานอินเวอร์ตเตอร์ สิ่งที่มีผลต่อฉนวนของมอเตอร์คือแรงดัน สไปรส์ ที่เข้าไปต่อยอดกับแรงดันปกติที่ป้อนให้กับมอเตอร์และเกินพิกัดที่ฉนวนของมอเตอร์จะทนได้ ทำให้เกิดการชอร์ตเทริน ฉะนั้นมอเตอร์ที่ใช้กับอินเวอร์เตอร์จึงควรที่จะเป็นมอเตอร์ที่ถูกพันด้วยลวดอาบน้ำยาที่ทนแรงดันสไปร์สได้สูง (ลวดพิเศษ )<br><br>สรุปได้ว่า คลาสของฉนวนมอเตอร์จะไม่เกี่ยวกับการต่อใช้งานมอเตอร์ด้วยอินเวอร์เตอร์ แต่จะเกี่ยวกับชนิดของขดลวดที่ใช้พันมอเตอร์ว่ามีอัตราการทนแรงดันได้สูงมากน้อยเท่าไร ( ชนิดของน้ำยาเคลือบลวด )
ความคิดเห็นที่ 2
คนรู้น้อย
18/06/2548
13:35 น.
ช่างครับ ปกติถ้าเกิดแรงดันสไปรส์ขึ้น ก็ควรจะแก้ที่อินเวอร์ตเตอร์ไม่ใช่หรือครับ หรือเลือกที่มันไม่เกิดแรงดันสไปรส์ไม่ได้หรือครับ ช่วยขยายให้ทีครับ
ความคิดเห็นที่ 3
tinamics.com
19/06/2548
12:58 น.
ผลกระทบมี 2 อย่าง คือแรงดันสไปร์ ตามที่ช่างซ่อมมอเตอร์ตอบ และ ความร้อนที่จะเพิ่มขึ้นอันเนื่องมาจาก PWM technics เมื่อเทียบกับ Sine Wave ดังนั้นถ้ามอเตอร์ปกติใช้งานที่ Sine wave เมื่อนำไปใช้งานกับ Drives ความร้อนจะเพิ่มขึ้นโดยประมาณ 10'C จึงห้ามใช้ที่ 100% กระแสพิกัด หรือ หากใช้ 100% ที่กระแสพิกัด ต้องยอมรับความร้อนที่เพิ่มขึ้นจาก Class B จะเป็น Class F โดยประมาณ อยากรู้เพิ่มเติม<br><a href="http://www.tinamics.com/Artical/Insulation_Motor_vs_Drives_TH.pdf" Target="_BLANK">http://www.tinamics.com/Artical/Insulation_Motor_vs_Drives_TH.pdf</a>
ความคิดเห็นที่ 4
พี
20/06/2548
11:26 น.
ผมขอถามต่อครับ<br> ปรกติพัดลมที่ติดมากับมอเตอร์จะทำหน้าที่ระบายความร้อนหากเราลดความเร็วของมอเตอร์ลง(ตามโหลดของมอเตอร์)กระแสที่ลดลงกับการระบายความร้อนของมอเตอร์(โดยพัดลม)จะมีความสัมพันธ์กันอย่างไร มีกราฟให้ดูไหม
ความคิดเห็นที่ 5
tinamics.com
21/06/2548
00:28 น.
ในกรณีที่ต้องการนำมอเตอร์ไปใช้งานกับโหลด ที่ต้องการแรงบิดคงที่ และต้องการใช้อินเวอร์เตอร์เพื่อปรับความเร็วรอบมอเตอร์ ณ.ที่ความเร็วรอบต่ำๆ เช่น ระบบสายพานลำเลียง เครื่องบด เครื่องอัด หรือโหลดแบบอื่นๆ จำเป็นจะต้องเลือกใช้มอเตอร์แบบ Force Ventilation กล่าวคือจะต้องมีพัดลมระบายความร้อนที่สามารถระบายความร้อนออกจากตัวมอเตอร์ได้อย่างเพียงพอ และต่อเนื่อง ด้วยพัดลมระบายความร้อนที่หมุนด้วยความเร็วคงที่ เพราะหากนำมอเตอร์ปกติที่มีพัดลมระบายความร้อนติดกับแกนเพลามอเตอร์ เมื่อมอเตอร์หมุนที่ความเร็วรอบต่ำๆ การระบายความร้อนก็จะน้อยตามความเร็วรอบมอเตอร์ แต่เนื่องจากโหลดเป็นแบบแรงบิดคงที่ กระแสที่มอเตอร์ต้องการเพื่อนำไปขับโหลดยังคงสูง ความร้อนที่ก่อกำเนิดก็ยังคงเท่าเดิม ทำให้เกิดความร้อนสะสมเพิ่มมากขึ้นจนกระทั่งในที่สุด อาจจะทำให้มอเตอร์ไหม้ได้<br>แต่ในกรณีของโหลดเป็นแบบ แรงบิดเพิ่มขึ้น หรือลดลงตามความเร็วรอบยกกำลังสอง (n~T2) เช่น โหลดประเภทพัดลม หรือปั้มสูบน้ำ เมื่อความเร็วรอบมอเตอร์ลดลง ความต้องการแรงบิด หรือกระแสก็จะลดลงตามยกกำลังสองของความเร็วรอบ ทำให้ความร้อนสะสมที่เกิดจากกระแส ก็จะลดลงตามไปในปริมาณที่น้อยด้วยเช่นกัน จึงไม่จำเป็นต้องใช้ Fixed force fan Separately Ventilation สำหรับโหลดแบบ Fan &amp; Pump<br><br>ตอบยากจัง รูปนะมี แต่ post ไม่เป็น จะส่งให้ ถ้าบอก mail
ความคิดเห็นที่ 6
พี
21/06/2548
14:45 น.
<a href="mailto:mail:mr_sabayoi@yahoo.com" Target="_BLANK">mail:mr_sabayoi@yahoo.com</a><br> ขอบคุณล่วงหน้าครับ<br>ปล.fan กำลังจะแปรผันกำลัง3กับความเร็วรอบ ดังนั้นกระแสก็น่าจะเช่นเดียวกัน??
ความคิดเห็นทั้งหมด 6 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง:
4 July 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD