Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 176,800
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,172
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,460
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,454
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,914
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,030
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,007
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,296
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,147
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,819
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,774
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,974
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,318
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,817
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,161
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,054
17 Industrial Provision co., ltd 39,851
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,799
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,714
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,042
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,975
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,323
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,742
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,470
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,976
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,970
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,348
28 AVERA CO., LTD. 23,103
29 เลิศบุศย์ 22,063
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,821
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,715
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,328
33 แมชชีนเทค 20,317
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,577
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,546
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,287
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,964
38 SAMWHA THAILAND 18,741
39 วอยก้า จำกัด 18,406
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,979
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,825
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,760
43 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,726
44 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,671
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,603
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,596
47 Systems integrator 17,157
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,102
49 Advanced Technology Equipment 16,935
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,899
18/02/2546 08:00 น. , อ่าน 22,265 ครั้ง
Bookmark and Share
ใช้ฟิวส์ หรือ เซอร์กิตเบรกเกอร์ ดีครับ
amorn
18/02/2546
08:00 น.
ในวงจรควบคุมมอเตอร์ (วงจรกำลัง) บางวงจรเขาใช้ ฟิวส์ บางวงจรใช้เซอร์กิตเบรกเกอร์ <br>อยากถามว่าอุปกรณ์ทั้งสองมีข้อดี และข้อเสียต่างกันอย่างไร <br>ถ้าจะออกแบบวงจรเองควรใช้แบบไหนดีครับ<br>(17 ก.พ. 46)
ความคิดเห็นทั้งหมด 16 รายการ | 1  2    »
ความคิดเห็นที่ 1
it
21/02/2546
00:00 น.
ที่แน่ๆ ถ้าใช้ฟิวส์ เมื่อฟิวส์ขาดจะต้องทิ้งเลย<br>แต่ถ้าใช้ CB เมื่อวงจรมีปัญหาสามารถใช้งานได้ต่อ<br>แต่ก็ยังสงสัย ทำไมบางเครื่องใช้ฟิวส์บางเครื่องใช้ CB
ความคิดเห็นที่ 2
คนไท
22/02/2546
01:06 น.
เหมือนกัน แต่ถ้าใช้ฟิวส์จะต้องมีอุปกรณ์ตัดต่อวงจรอย่าง magnetic contactor ใช้ร่วมกันด้วย หรือ สวิทช์โยกอะไรก็ได้เพื่อปลดวงจร
ความคิดเห็นที่ 3
Ohm
03/03/2546
23:55 น.
ที่ทำงานมีการใช้ฟิวส์ตามแบบติดตั้งใช้กับพัดลม 2800 r/m และได้ทดลองเปลี่ยนเป็น No Fuse Breaker(ปรับกระแสได้)ผลการใช้งานตั้งกระแส 100% Breaker จะtrip สังเกตุจากกระแสที่วัดได้ กระแสจะลงช้ามากทำให้breaker trip ส่วนใช้Fuse กระแสจะลงมาจนกระทั้งกระแสใช้งานปกติ ที่เจอก็มีเท่านี้ครับ
ความคิดเห็นที่ 4
k
15/03/2546
11:53 น.
breaker ราคาแพงกว่า fuse
ความคิดเห็นที่ 5
kirin
19/03/2546
05:10 น.
ไม่เหมือนกันสักทีเดียว ฟิวส์จะหลอมเมื่ออุณหภูมิถึง ส่วน breaker มีทั้งสนามแม่เหล็ก และ bi metal บางทีเขาใช้ฟิวส์ร่วมกับ breaker เพื่อลดขนาด Interupting current ของbreaker ลงได้ แต่โดยทั่วไปจะเข้าใจว่าเหมือนกัน ซึ่งก็ไม่ผิด เพราะงานทั่วไปเป็นอย่างงั้นจริงๆ
ความคิดเห็นที่ 6
nueng
28/05/2546
10:35 น.
คุณสมบัติเด่นๆอีกประการหนึ่งของ CB คือ การระบบการ Trip ซึ่งจะไม่ต้องทำให้เกิดการหลอมละลายเมื่อเกิด High temp. ขึ้นเหมือนฟิวส์ ซึ่งเมื่อมองดูในระยะเวลานานๆจะสามารถลด cost และลด breakdown และในทางกลับกันก็จะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ process นั้นๆได้
ความคิดเห็นที่ 7
mr.k
14/12/2546
00:46 น.
.ใช้ อย่างใดอย่าง1ก็ได้ครับ ไม่ผิด แต่การใช้ f จะมีข้อดีคือราคาถูก<br>และค่าic สูงกว่า cb แต่ต้องสำรองไว้ ด้วย...ผมเห็นว่าปัจจุบันเครื่องจักรที่มาจากยุโรบยังมีการใช้อยู่เลย.....หรือจะใช้ด้วยกันทั้งคู่ก็ได้ไว้back up กันก็ได้ไม่ผิดมาตราฐานครับ
ความคิดเห็นที่ 8

09/08/2548
12:57 น.
matsukami รุ่น ms-50 กระแสเกิน 250% ไม่ยอมตัด
ความคิดเห็นที่ 9
น้องๆ
31/10/2548
14:10 น.
ฟิวส์มีข้อดีตรงที่ว่า สามารถตัดวงจรได้เร็วกว่า cb ครับ<br>แต่ข้อเสียคือถ้ามีกระแสเกินจะขาดทำให้ไม่สามารถนำมาใช้ได้อีก<br>แต่ทั้งนี้ในวงจรควบคุมมอเตอร์นั้นจะใช้ทังฟิวส์ทั้ง CB นะครับโดยจะต่อฟิวส์ก่อนแล้วมาเข้า CB ทีหลัง ถ้ากระแสไฟฟ้าเกิมมากๆ ฟิวส์จะตัดก่อน CB แต่ถ้ากระแสเกิดไม่มาก หรือ โหลดเกิน CB จะเป็นตัวตัดวงจรครับ
ความคิดเห็นที่ 10
maxxx
11/07/2549
14:37 น.
ควรใช้ฟิวส์ดีกว่าครับหางายและราคาถูกครับ<br>
ความคิดเห็นที่ 11
amorn
18/07/2549
11:26 น.
ความหมายของเซอร์กิตเบรกเกอร์
ความคิดเห็นที่ 12
ton
23/07/2549
12:41 น.
fuse ดีกว่าครับเพราะbreakerd กระแสเกินมากตอนท่มันกำลังจะ tripสะพานไฟจะหลอมเป็นอันเดียวกันแล้วเราจะไม่รู้ว่ามัน tripส่วน fuse จะทำการตัดทันที และถูกกว่าด้วย
ความคิดเห็นที่ 13
suchet_d@hotmail.com
10/03/2550
15:14 น.
ใช้เซอร์กิตเบรคเกอร์ดีกว่าเพราะเมือเกิดการทริปขึ้นสามรถทำการโยกกระเดื่องเพื่อทำงานตอได้
ความคิดเห็นที่ 14
engineer
16/11/2551
16:40 น.
ok
ความคิดเห็นที่ 15
engineer
16/11/2551
16:43 น.
เบรกเกอร์มัตซูกามิเป็นชนิดเทอร์มัลครับ กรณีกระแสเกินต้องใ้ช้เวลาในการทริปไม่เกิน60วินาที หากต้องการให้ทริปทันทีต้องใช้ชนิดแม็กเนติกครับ
ความคิดเห็นทั้งหมด 16 รายการ | 1  2    »
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง:
23 November 2024
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD