Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,322
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,588
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,902
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,876
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,331
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,386
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,359
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,733
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,767
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,226
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,127
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,344
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,796
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,556
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,574
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,428
17 Industrial Provision co., ltd 40,502
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,148
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,085
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,414
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,319
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,666
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,097
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,886
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,313
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,336
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,710
28 AVERA CO., LTD. 23,445
29 เลิศบุศย์ 22,410
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,166
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,068
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,741
33 แมชชีนเทค 20,676
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,910
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,897
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,681
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,322
38 SAMWHA THAILAND 19,180
39 วอยก้า จำกัด 18,916
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,391
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,214
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,124
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,077
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,075
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,965
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,957
47 Systems integrator 17,510
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,489
49 Advanced Technology Equipment 17,291
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,275
13/03/2556 00:38 น. , อ่าน 14,263 ครั้ง
Bookmark and Share
ใครรู้จัก และเข้าใจ iron carbon บ้าง
Mathician
13/03/2556
00:38 น.
ไม่เข้าใจนะครับ มันมีไว้ทำอะไร
เพราะว่าสุดท้ายแล้ว เวลาอุณภูมิมันลดลงต่ำกว่า 723°C มันก็เป็น pearlite เหมือนกันหมดมิใช่หรอครับ
ผมรู้ว่าผมต้องเข้าใจอะไรผิดแน่เลย
เลยอยากจะมาถามนะครับ

ขอบคุณล่วงหน้าครับ
ความคิดเห็นทั้งหมด 10 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
Mathician
13/03/2556
00:39 น.
แก้ไขนะ iron carbon diagram
ความคิดเห็นที่ 2
Chaleee
13/03/2556
19:51 น.
เอาแผนภาพสมดุลภาคของเหล็กคาร์บอนมาให้ดู แต่คงไม่ได้ช่วยอะไรมากเพราะไม่ถนัดเรื่องวัสดุ

ถ้าอุณหภูมิที่จุด 723 องศาเซลเซียสจะเกิดปฏิกิริยายูเทกตอยด์ซึ่งโครงสร้างเหล็กแอลฟาหรือเฟอร์ไรต์สลับกับซีเมนต์ไต์เรียกว่า เพอร์ไลต์ โดยจะมีเปอร์เซนต์คาร์บอนด์ 0.83%
จาก Phase Diagram ถ้า T ต่ำกว่า 723 จะมีโครงสร้างเพอร์ไลต์ ตามความเห็น จขกท ก็น่าจะถูกนะครับ รอผู้รู้มาช่วยอธิบาย
ความคิดเห็นที่ 3
Chaleee
13/03/2556
19:52 น.
เอาแผนภาพสมดุลภาคของเหล็กคาร์บอนมาให้ดู แต่คงไม่ได้ช่วยอะไรมากเพราะไม่ถนัดเรื่องวัสดุ

ถ้าอุณหภูมิที่จุด 723 องศาเซลเซียสจะเกิดปฏิกิริยายูเทกตอยด์ซึ่งโครงสร้างเหล็กแอลฟาหรือเฟอร์ไรต์สลับกับซีเมนต์ไต์เรียกว่า เพอร์ไลต์ โดยจะมีเปอร์เซนต์คาร์บอนด์ 0.83%
จาก Phase Diagram ถ้า T ต่ำกว่า 723 จะมีโครงสร้างเพอร์ไลต์ ตามความเห็น จขกท ก็น่าจะถูกนะครับ รอผู้รู้มาช่วยอธิบาย
ความคิดเห็นที่ 4
Mathician
13/03/2556
23:57 น.
คือที่ผมสงสัยนะครับ
สมมุติว่า มีจำนวนcarbon ผสมอยู่ 0.8%
อุณภูมิที่เกิน 1112 °F ขึ้นไป มันจะเกิดอะไรก็ชั่งหัวมัน (สมมุติว่าเราไม่สนตรงนั้นนะ)
แต่เวลาเราเอาเหล็กมาใช้ เราก็ใช้ที่ไม่เกิน 200°C อยู่แล้ว ก็คือเราก็สนใจที่อุณภูมิราวๆนี้ไม่ใช่หรอครับ
ยังไงๆมันก็ออกมาเป็น Perlite+ferrite ไม่ใช่หรอครับ


ปล. คำถามเชิงวิศวกรรม ต้องพิมพ์อะไรลงไปหรือครับ
ความคิดเห็นที่ 5
สืบศักดิ์
15/03/2556
19:54 น.
ตอนแรกว่า จะพยายามหาคำอธิบาย แต่อ่านๆแล้ว จึงทำให้เกิดความเข้าใจบางอย่าง จึงขอตอบคำถาม ดังนี้

1. ชีวิตของเราๆท่านๆ หรือ ในกลุ่มคนที่เรียกตัวเองว่า "วิศวกร" "ผู้รับเหมา" หรือ ชื่อใดๆก็ตาม เราเป็นเพียง "ผู้บริโภค" ข้อมูล ข่าวสาร ทฤษฏี ตารางมาตรฐาน ฯลฯ ซึ่งในทางวิทยาศาสตร์เรียกว่า Applied Science ซึ่งมิใช่ "ผู้ผลิต" หรือกลุ่มที่เรียกว่า Pure Science ดังนั้น ทฤษฏีบางอย่าง เช่น กรณีคำถามนี้ อาจมีข้อสงสัย หรือขัดใจว่า มันมีทำไม หรือ มาอย่างไร

ตอบได้ เพียงว่า ท่านยังไม่มีความสามารถเพียงพอในความเข้าใจ อันเป็นที่สุด ในแต่ละทฤษฏี หรือ มาตรฐาน นั้นๆ เพราะเรามิใช่ ผู้สร้าง เราเป็นเพียงผู้ใช้ สิ่งที่นอกเหนือจาก การใช้งาน แม้แต่ อาจาร์ย บางคนก็ยังไม่สามารถตอบได้อย่างถูกต้อง เหมือนผู้เขียน ทฤษฏี (ส่วนใหญ่ตายไปแล้ว บอกเล่าต่อๆกันมา เท่านั้น)

2. ทฤษฏี และมาตรฐาน ต่างๆนั้น มิได้ถูกใช้อยู่ในประเทศต่างๆ หรือ ในโลก บางทฤษฏีต้องสามารถตอบโจทย์ หรือคำถามของ การใช้งานที่อาจเกิดขึ้น ในอวกาศ หรือ ใต้ดิน จนถึง ใจกลางโลก ด้วยเช่นกัน

3. ทุกๆวันนี้ ยังคงมีหลายคนในกลุ่มของ Pure Science ที่ยังต้องมีหน้าที่ ค้นคว้า วิจัย ตามทฤษฏีต่างๆ เพื่อค้นหาที่มา หรือแม้แต่ การพิสูจน์ เพื่อการสร้างทฤษฏีใหม่ ตัวอย่างเช่น นักฟิสิกส์ควันตัมส์ รายหนึ่งที่พยายามพิสูจน์ ข้อบกพร่อง ในทฤษฏีสัมพันธภาพ ของ ไอสไตน์ ทั้งๆที่ สูตร E = MC2 ใช้กันอยู่ในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลก และเขาก็สามารถพิสูจน์ ทางการคำนวณได้เช่นกัน ในกรณีของการเบียงเบียนของแสง บริเวณปากหลุมดำ ทั้งๆที่ ตามทฤษฏีเดิม แสงเดินทางเป็นเส้นตรง

คงพอเท่านี้ นึกไม่ออก
สรุป อย่าเสียเวลา ตั้งคำถามเลย พาลจะ งง เสียเปล่าๆ
ความคิดเห็นที่ 6
Mathician
16/03/2556
18:59 น.
คุณสืบศักดิ์ครับ
เป็น lab อาจารย์ให้ส่อง microscope เหล็กครับ แล้วให้อธิบายว่าเป็นชนิทไหน โดยอธิบายควบไปกับ diagram ข้างบนนะครับ
แล้วถ้าผมไม่เข้าใจ จะทำรายงานออกมาดีได้อย่างไรครับ
ความคิดเห็นที่ 7
gearthai
17/03/2556
09:03 น.
โครงสร้าง ระดับ โมเลกุล จาก BCC เป็น FCC หรือ UBC(มุก) อะไรก็ตาม มันเปลี่ยน ความหนาแน่นก็จะเปลี่ยน ความแข็งแรงเปลี่ยนแปลง
ดังนั้นเมื่อมันเย็นตัวลง โครงสร้างภายในเชิงโมเลกุล 1คิวบิก 4เหลี่ยนที่ใส่อะตอมของธาตุ
จะจัดตัวให้หนาแน่นขึ้นได้ครับ
เมื่อเหล็กร้อนกินจุดสุดยอดดอยแล้ว เย็นตัวลงมามันจะแข็งภายในเวลาและแรงดันที่ควบคุมในกราฟ (มั่ง) คือการชุบแข็ง
จากการทดลอง
แต่ถ้าลงมาในช่วงมาเทนไซ้(หรือเปล่า?) ก็จะกลายเป็นสินค้าที่เรียกว่า..(ให้ทาย)...
ความคิดเห็นที่ 8
สืบศักดิ์
18/03/2556
22:42 น.
ขออภัย ที่ไม่เข้าใจคำถามของ คุณ Mathician
เพราะอ่านจากคำถามดูเหมือน ต้องการทราบว่า มันมาได้อย่างไร และทำไมเมื่อโครงสร้างมันเหมือนกันหมด ที่ อุณหภูมิต่ำกว่า 723 องศา

ซึ่งในความจริง เราใช้งานกันในช่วงอุณหภูมิระดับหนึ่งเท่านั้น

นอกนั้นเป็น บางช่วงได้มาจากการคำนวณในทางทฤษฏี ซึ่งบางทีในห้องปฏิบัติการยังไม่สามารถทำได้จริง หรือให้เห็นได้จริง

นอกจาก บางกรณี เช่นการเปลียนโครงสร้างโมเลกุลของคาร์บอน ในแรงกดบรรยากาศสูง ทำให้โมเลกุลเปลี่ยนไป ถ่านกราไฟท์ ก็กลายเป็น เพชร ได้ ซึ่งนั้นคือเป็น อีกแบบหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงของโมเลกุล ภายใต้ สภาวะผกผัน ของ แรงกดอากาศ และ อุณหถูมิ ที่แม้ว่า อุณหภูมิไม่ถึงตามตาราง แต่โมเลกุลก็เปลียนโครงสร้างได้ ตามทฤษฏีแปรผันของ อุณหภูมิ และแรงกดอากาศ



ความคิดเห็นที่ 9
mme
02/03/2558
16:09 น.
เฟสไดอะแกรม เหล็ก-คาร์บอน มีไว้เพื่อบอกว่าที่เปอร์เซ็นคาร์บอนและที่อุณหภูมิต่างๆนั้นเหล็กจะมีลักษณะอย่างไร ตามชื่อแหละค่ะ เฟส ก็คือแบ่งเป็นบริเวณของใครของท่าน ซึ่งเฟสไดอะแกรมตัวนี้จะใช้สำหรับการอบชุบหรือปรับปรุงสมบัติของเหล็กค่ะ สมมติว่าเรามีเหล็กคาร์บอน 2.06% (แกนนอนคือ %คาร์บอน) แล้วต้องการทำให้เหล็กนั้นมีโครงสร้าง Austenite+cementite+ledeburite เราก็ต้องใช้อุณหภูมิในการอบชุบไม่เกิน 1147 C ถ้าเกินไปแล้วมันก็จะเปลี่ยนโครงสร้างไปเป็นอย่างอื่น แต่ที่อุณหภูมิเดียวกันแต่%คาร์บอนเป็น 4.3% เหล็กก็จะเปลี่ยนเป็นเฟสของเหลวหรือหลอมละลายนั่นเองค่ะ ซึ่งแผนภูมิทำไว้ให้ดูเข้าใจง่ายและสะดวกต่อการนำไปใช้งานอ่ะค่ะ
ความคิดเห็นที่ 10
MTE
28/04/2562
08:13 น.
ต่ำกว่า 723 องศาเซลเซียสเป็น pearlite เหมือนกันค่ะ แต่ก็ต้องดูที่เปอร์เซ็นคาร์บอนด้วย เพราะเหล็กที่มีเปอร์เซ็นคาร์บอนต่างกันจะมีคุณสมบัติทางกลไม่เหมือนกัน แม้จะเป็น pearlite เหมือนกันแต่จะมีการนำไปใช้งานในทางที่ต่างกัน
ความคิดเห็นทั้งหมด 10 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง:
24 April 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD