09/07/2555 16:32 น. |
ขนาดสายก่อนเข้าหม้อแปลงที่ด้านแรงสูง 22 KV อะครับ เราคำนวณจากอะไร ถ้าใช้กระแสของหม้อแปลงผมคิดว่าไม่น่าจะใช่นะครับ มาตรฐานเราใช้ factor ตัวใดบ้างในการคำนวณ หรือมีตารางไหมครับ ถ้ามีขอด้วยนะครับ จะเป็นพระคุณอย่างสูง ขอบคุณครับ |
11/07/2555 16:36 น. |
|
11/07/2555 16:38 น. |
|
11/07/2555 16:39 น. |
|
11/07/2555 16:40 น. |
หากจะคำนวณจากการไฟฟ้ามาที่บริษัท จะให้ระบบเปอร์ยูนิตในการคำนวณ จะไม่ได้คำนวณเหมือนแรงต่ำ จะมีค่า r ,xl,xc ค่าแรงดึง (แรงตกท้องช้าง) แรงลม แรงที่เสาให้ตัว อันนี้พวกโยธาจะคำนวณเยมากกว่า บางทีเผื่อเรื่องแผ่นดินไหวด้วย จะเห็นได้ชัด ระบบสายส่ง 115 ถ้าช่วงไหนค่าแฟตเตอร์ไม่บาล้านซ์มาก ระยะการสลับสายเฟส จะถี่มาก ลองดูตามเสาไฟนะครับ บางทีขับรถไป ไล่สายเป็น A ,B,C ถัดไป จะคงที่ไว้ 1 เฟส และสลับสายกัน2เฟส กลับมาระบบสายส่ง 22 เควี โดยทั่วไปจะถูกส่งจ่ายมาจากหม้อแปลง 115 เควี และจะให้แต่ละสาขามีค่ากำลังไฟฟ้าสุงสุด บาลซ์ละ 10 เมกกะวัตต์ ลองดูครับ หนังสือของ ฌอม เล่มสีเหลืองอ่ะ ดีมาก เรื่องการส่งจ่าย ถ้าจะคำนวณ แต่เราต้องโทรไปถามการไฟฟ้านะครับว่า สายไฟที่ผ่านหน้าบริษัทเราน่ะ หรือที่เข้ามาบริษัท มีค่า อิมพีแดนซ์อยู่ที่เท่าไร |
08/08/2555 23:25 น. |
ถ้าไม่ใช้กระแสพิกัดของหม้อแปลงคุณจะใช้กระแสอะไร คุณจะไปคำนวณกระแสจากโหลดเหรอ ถ้าไม่ใช้กระแสหม้อแปลงเวลาโหลดเยอะหม้อแปลงก็ไม่สามารถจ่ายได้เหรอเพราะสายไหม้ก่อน |
24/09/2555 15:17 น. |
นั่นนะสิ แต่ละสาขาย่อยของหม้อแปลง 115 ลง 22 เควี เขาจ่ายให้สาขาละ 10 MW ด้านแรงต่ำ 3 เฟส 400 โวลต์ สามารถใช้กระแสสุงสุดได้ 16982 แอมป์ ก็ต่อหม้อแปลงไปสิครับ หากการใช้ไฟเกิน 10 MW เมื่อไร ภาคบังคับล่ะครับ คุณต้องตั้ง SUB 115 KV นอกเสียจากคุณจะไปตั้งบริษัทขึ้นใหม่ แล้วไกล่เกลี่ยกับการไฟฟ้า เผื่อสาขาที่เหลือจะแครี่โหลดได้ เมืองไทยทำได้เสมอ |