04/08/2554 14:20 น. |
มอเตอร์เดิม name plate เป็น 200 V ซื้อมอเตอร์ตัวใหม่มาใส่แทน เป็นมอเตอร์ 220/380 V ข้อดีและข้อเสียของมอเตอร์ 220/380 V มาใช้กับsupply 200 V ขอบคุณล่วงหน้าครับ |
06/08/2554 10:58 น. |
ขอให้ความคิดเห็นอย่างนี้ครับ ถ้าแหล่งจ่ายมอเตอร์เป็น 200 V. จริงๆ จะมีข้อดีข้อเสียอย่างนี้ครับ ข้อดี เนื่องจากการใช้งานไม่ตรงกับพิกัดแรงดัน จะส่งผลให้แรงบิดของมอเตอร์ที่มอเตอร์ผลิตได้และกระแสไหลเข้ามอเตอร์น้อยลงกว่าปกติ ถ้าใช้งานไม่เต็มที่ หรือไม่เต็มพิกัดแต่ต้องไม่เกินค่าพิกัดที่เหลืออยู่ ประสิทธิภาพ(ค่าไฟต่อค่าเอาว์พุทที่ออกไป )ของการใช้งานมอเตอร์จะสูงกว่า การใช้งานตรงตามพิกัดแรงดันครับ ยกตัวอย่างง่าย มอเตอร์ขณะไม่ขับโหลด จ่ายไฟเข้ามอเตอร์ 200 เทียบกับ 220 V.ไปที่มอเตอร์ 220 V. กระแสที่ไหลผ่านมอเตอร์ขณะจ่ายไฟ 220 V.จะมีค่ามากกว่า[/U][U] ข้อเสีย อ้างอิงมาจากข้อดี การใช้งานไม่ตรงพิกัดแรงดัน จากคำถาม จะทำให้กิโลวัตต์ที่เหลืออยู่มีค่าเท่ากับ (200/220)ยกกำลังสอง = 0.83 เท่าของกิโลวัตต์เดิม หรือถ้าเนมเพลม 100 KW. มอเตอร์จะสามารถใช้งานได้อย่างปกติโดยการจ่ายโหลดได้ไม่เกิน 0.83x 100 = 83 KW. |
06/08/2554 10:58 น. |
ขอให้ความคิดเห็นอย่างนี้ครับ ถ้าแหล่งจ่ายมอเตอร์เป็น 200 V. จริงๆ จะมีข้อดีข้อเสียอย่างนี้ครับ ข้อดี เนื่องจากการใช้งานไม่ตรงกับพิกัดแรงดัน จะส่งผลให้แรงบิดของมอเตอร์ที่มอเตอร์ผลิตได้และกระแสไหลเข้ามอเตอร์น้อยลงกว่าปกติ ถ้าใช้งานไม่เต็มที่ หรือไม่เต็มพิกัดแต่ต้องไม่เกินค่าพิกัดที่เหลืออยู่ ประสิทธิภาพ(ค่าไฟต่อค่าเอาว์พุทที่ออกไป )ของการใช้งานมอเตอร์จะสูงกว่า การใช้งานตรงตามพิกัดแรงดันครับ ยกตัวอย่างง่าย มอเตอร์ขณะไม่ขับโหลด จ่ายไฟเข้ามอเตอร์ 200 เทียบกับ 220 V.ไปที่มอเตอร์ 220 V. กระแสที่ไหลผ่านมอเตอร์ขณะจ่ายไฟ 220 V.จะมีค่ามากกว่า[/U][U] ข้อเสีย อ้างอิงมาจากข้อดี การใช้งานไม่ตรงพิกัดแรงดัน จากคำถาม จะทำให้กิโลวัตต์ที่เหลืออยู่มีค่าเท่ากับ (200/220)ยกกำลังสอง = 0.83 เท่าของกิโลวัตต์เดิม หรือถ้าเนมเพลม 100 KW. มอเตอร์จะสามารถใช้งานได้อย่างปกติโดยการจ่ายโหลดได้ไม่เกิน 0.83x 100 = 83 KW. |
27/08/2554 01:31 น. |
ขออนุญาตถามกลับนะครับว่า supply 200 V AC นี่ได้มาจากแหล่งจ่ายไหนครับ ที่ถามเพราะสงสัยครับไม่เคยเจอครับ |