Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,305
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,574
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,886
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,863
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,319
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,373
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,345
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,718
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,752
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,211
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,113
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,332
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,782
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,542
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,556
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,415
17 Industrial Provision co., ltd 40,489
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,135
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,073
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,401
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,306
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,652
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,085
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,874
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,302
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,323
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,697
28 AVERA CO., LTD. 23,432
29 เลิศบุศย์ 22,398
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,153
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,054
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,728
33 แมชชีนเทค 20,663
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,895
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,884
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,669
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,307
38 SAMWHA THAILAND 19,169
39 วอยก้า จำกัด 18,903
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,377
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,201
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,112
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,065
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,054
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,953
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,944
47 Systems integrator 17,496
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,476
49 Advanced Technology Equipment 17,279
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,262
24/01/2554 09:36 น. , อ่าน 27,687 ครั้ง
Bookmark and Share
คลิปการแปลงมอเตอร์ 3 เฟสไปใช้กับระบบไฟ 1 เฟส
ช่างซ่อมมอเตอร์
24/01/2554
09:36 น.

พอดีได้ดูคลิปด้านล่างแล้ว ไม่ค่อยสะบายใจ เพราะมีการสาธิตการแปลงมอเตอร์จาก 3 เฟสไปใช้กับระบบไฟ 1 เฟส และมีข้อมูลที่อธิบายให้กับผู้คนมาร่วมฟัง ผมว่าบิดเบือนไปค่อนข้างมากไม่รู้ว่าพี่ๆ และ เพื่อน ๆ สมาชิก คิดเห็นอย่างไร โดยเฉพาะบอกว่าเป็นการประหยัดพลังงาน และแรงม้าลดลงไปแค่ 5 เปอร์เซนต์

http://www.youtube.com/watch?v=l_rTf-5gUCM&feature=related
ความคิดเห็นทั้งหมด 3 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
man u
27/01/2554
23:28 น.
ดูแล้วครับคล้ายกับที่รู้มาแต่ต้องต่อมอเตอร์เป็น เดลต้าหรือไม่ ยังไงช่วยอธิบายวิธีการต่อใช้ลักษณะนี้ว่าควรใช้หรือไม่ และใช้กับโหลดประเภทใดได้บ้าง
ความคิดเห็นที่ 2
man u
27/01/2554
23:28 น.
ดูแล้วครับคล้ายกับที่รู้มาแต่ต้องต่อมอเตอร์เป็น เดลต้าหรือไม่ ยังไงช่วยอธิบายวิธีการต่อใช้ลักษณะนี้ว่าควรใช้หรือไม่ และใช้กับโหลดประเภทใดได้บ้าง
ความคิดเห็นที่ 3
ช่างซ่อมมอเตอร์
29/01/2554
09:08 น.
ขอให้ความคิดเห็นอย่างนี้ครับ จากการที่ดูคลิปแล้วเห็นว่า มีเนื้อหาบางอย่างที่ไม่น่าจะถูกต้องดังนี้ครับ

1. วิทยากรบอกว่าการทำแบบนี้เป็นการประหยัดพลังงาน ซึ่งผมคิดว่าไม่ถูกต้อง เนื่องจากการนำมอเตอร์ 3 เฟสมาจ่ายระบบไฟ 1 เฟส และใช้คาปาซิเตอร์ สร้างแรงดันที่ ดีเลย์ แรงดันและมุมเฟสหลักไปบ้าง อาจจะไม่ใช่ 90 องศาตามที่วิทยากรบอกเพราะว่าน่าจะขึ้นอยู่กับสัดส่วนระหว่างค่า แคปกับค่า อินดักแตนซ์ของมอเตอร์ด้วย และจากการศึกษา เมื่อเกิดความไม่สมดุลขึ้นในขดลวด 3 เฟส ไม่ว่าจะเป็นแรงดัน หรือมุมองศา จะทำให้เกิดแรงบิดต้านกลับ Negative Power ซึ่งตัวนี้จะเป็นตัวต้าน ทำให้เราต้องจ่าย กำลังงานมากขึ้น เมื่อได้ผลลัพธ์เท่าเดิม ซึ่งเป็นเหตุผลว่าวิธีการนี้ไม่เป็นการประหยัดพลังงานอย่างแน่นอน
2. แรงม้าคงเหลือ การที่แรงดัน และมุมเฟสตกคร่อมขดลวดมอเตอร์ไม่สมดุลย่อมส่งผลต่อค่าแรงบิด และแรงม้าใี่นที่สุด จากข้อมูลที่ศึกษามา แรงม้าสูงสุดที่เหลือไม่น่าเกิน 75 เปอร์เซนต์ของแรงม้าเดิม และแรงบิดสตาร์ท จะเหลือประมาณ 30 เปอร์เซนต์ของแรงบิด สตาร์ทเดิม ฉะนั้นจากวิทยากรที่บอกว่าแรงม้าลดลงไป 5 เปอร์เซนต์ จึงคิดว่าไม่ถูกต้อง ฉะนั้นมอเตอร์จะต้องนำไปใช้กับการสตาร์ทที่มีโหลดต่ออยู่ไม่มาก หรือเกือบจะไม่มีโหลดต่ออยู่
3. จากภาพที่เห็นเข้าใจว่ามอเตอร์ตัวนี้ ยังไม่ได้ต่อให้มีแรงดันต่อเฟส เท่ากับ 220 โวลท์
หมายถึงมอเตอร์ยังเป็นมอเตอร์ 3 เฟส 380 โวลท์ เมื่อนำมาต่อเข้ากับแรงดัน 220 โวลท์แล้วนำแคปเข้าไปต่อ จะเห็นได้ว่าเมื่อมอเตอร์สตาร์ทไปแล้ว มอเตอรืไม่สามารถเร่งความเร็วให้ขึ้นไปจุดที่ทำงานได้( มอเตอร์หมุนเื่อื่อยๆ ) ต่อมาเมื่อนำแคปมาช่วยกระตุ้นอีกทีหนึ่งจึงจะสามารถเร่งความเร็วไปได้ ซึ่งในการนำมาประยุกต์ใช้งานในลักษณะนี้ต้องแปลงแรงดันมอเตอร์ให้เป็น 3 เฟส 220 เฟส ไม่ว่าโดยการต่อ คอนเน็กชั่นภายนอก ( เทอร์มินอล ) หรือ แปลงขดลวดภายใน ก่อน

สรุป หากมีแหล่งจ่ายไฟให้กับมอเตอร์ เป็น 1 เฟส ก็ควรที่จะใช้มอเตอร์ 1 เฟส ( ไม่พิจารณาถึงเรื่องการสตาร์ท ) เพราะจะทำให้ได้ประสิทธิภาพการทำงานของมอเตอร์ที่มากกว่า การใช้งานดังกล่าวเป็นการประหยัดเงินที่ไม่ต้องซื้อมอเตอร์ใหม่ ( ถ้ามีมอเตอร์อยู่แล้ว และนำมาประยุกต์ใช้ ) ที่ไม่ใช่การประหยัดพลังงาน
ความคิดเห็นทั้งหมด 3 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง:
23 April 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD