Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,612
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,814
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 174,193
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 174,113
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,549
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,624
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,581
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,957
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 162,133
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,417
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,342
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,542
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 69,028
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,778
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,839
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,631
17 Industrial Provision co., ltd 40,719
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,351
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,314
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,636
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,538
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,858
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,290
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 32,108
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,541
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,549
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,922
28 AVERA CO., LTD. 23,643
29 เลิศบุศย์ 22,627
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,411
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,295
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,977
33 แมชชีนเทค 20,907
34 มากิโน (ประเทศไทย) 20,149
35 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 20,101
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,896
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,530
38 SAMWHA THAILAND 19,424
39 วอยก้า จำกัด 19,170
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,617
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,435
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,340
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,320
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,291
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 18,168
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 18,142
47 Systems integrator 17,719
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,687
49 Advanced Technology Equipment 17,523
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,475
22/10/2552 16:13 น. , อ่าน 14,753 ครั้ง
Bookmark and Share
สูตรของกระแส แรงดัน แรงบิด ความเร็วรอบมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
O
22/10/2552
16:13 น.
สอบถามว่า สูตรของกระแส แรงดัน แรงบิด ความเร็วรอบมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
ความคิดเห็นทั้งหมด 2 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
พี่เสือ
23/10/2552
10:25 น.
ถามค่อนข้างกว้าง ตอบลำบาก เอาหลักการพื้นฐานไปทำความเข้าใจก่อนแล้วกัน<br>ตรงไม่ตรงค่อยว่ากันอีกที<br><br>สมการกระแสพื้นฐาน I = V - E / Z<br>V = input voltageม E = Back emf or Speed voltage<br><br><br>สมการทอร์คพื้นฐาน T = K I O ( Flux) : ซึ่งคล้ายกับสมการดีซีมอเตอร์<br>K = ค่าคงที่ในการออกแบบ , O ( Flux หรือเส้นแรงแม่เหล็ก) สัมพันธฺ์กับกระแส ซึ่งแปรผันตรงกับความสัมพันธ์ระหว่าง V/F<br><br>สมการความเร็วพื้นฐาน N = 120 * f / P ==&gt; f คือ ความถื่ , คือจำนวนขั้วแม่เหล็ก<br><br>สมการกำลังด้านเอาท์พุตพื้นฐาน Pm (w) = T (Nm) * N ( rpm) ==&gt; Pm กำลังทางกลทางด้านเอาท์พุต , T คือ ทอร์ค และ N คือความเร็วรอบสนามแม่เหล็ก<br><br><br>พิจารณาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างกระแส แรงกัน ทอร์ค และความเร็วรอบช่วงสตาร์ท<br><br>จากสมการกระแสพื้นฐาน I = V - E / Z<br>ช่วงสตาร์ทแรงดัน V จะมีค่าคงที่ (กรณีจ่ายแรงดันตรงไม่ผ่านอินเวอร์เตอร์) ส่วน E = Speed voltage จะมีค่าเท่ากับศูนย์<br>ส่วน Z จะมีค่าคงที่เมื่อความถี่คงที่ ดังนั้นช่วงเริ่มต้น กระแสสตาร์ทจะสูง และส่งผลทำให้ ทอร์คขณะสตาร์ท หรือ starting torque สูง<br>หลังจากมอเตอร์ออกตัวเริ่มหมุน ก็จะทำให้ E = Speed voltage ก็จะมีค่าเพิ่มขึ้นตามความเร็ว ซึ่งก็จะทำให้กระแสลดลงตามลำดับ และส่งผลทำให้ทอร์คลดลงเข้สู่ทอร์คพิกัด <br><br>ส่วนความเร็ว <br> ถ้าจำนวนขั้วแม่เหล็กคงที่ ความถี่คงที่ ความเร็วสนามแม่เหล็กหมุนก็จะคงที่ จะเปลี่ยนแปลงเฉพาะความเร็วโรเตอร์เพียงเล็กน้อย สามถึงหกเปอร์เซ็นต์ โดยขึ้นอยู่กับโหลดหนักหรือเบา<br><br>ความสัมพันธ์ระหว่างทอร์ค ความเร็ว และกำลัง<br> Pm (w) = T (Nm) * N ( rpm) <br>มอเตอร์แต่ละตัวจะมีกำลังทางด้านเอาท์พุทหรือกำลังกลคงที่เช่น5 แรงม้า 7.5 แรงม้า หรือ 5.5 KW เป็นต้น คล้ายกับช้าง ม้า วัว ความ ตัวหนึ่ง แต่ไม่มีสมองซึ่งไม่สามารถควบคุมตัวเองไม่ทำงานเกินกำลัง <br>ดังนั้นคนที่ออกแบบหรือควบคุมจะต้องเข้าหลักการเพื่อไม่ให้มอเตอร์ทำงานเกินกำลัง มิฉนั้นมอเตอร์จะไหม้<br><br>โดยหลักการกำลังทางกลหรือเอาท์พุตเป็นผลผลิตของ ทอร์ค กับ ความเร็ว ดังนั้นเมื่อมีกำลังคงที่ มอเตอร์แต่ละตัวก็จะมี พักัดการใช้งานด้านความเร็วและทอร์ค ตามข้อกำหนด <br>ดังนั้นการใช้งานต้องคำนึงถึงสองปัจจัยหลัก คือทอร์ค กับความเร็ว กล่าวคือ ถ้าจะใช้งานที่ความเร็วสูงกว่าพิกัด ก็ควรต้องลดทอร์ดลงตามสัดส่วนให้ต่ำกว่าพิกัด หรือ กรณีต้องการใช้ทอร์คมากกว่าพิกัด ก็ต้องลดความเร็วลงตามสัดส่วนให้ต่ำกว่าความเร็วพิกัด เพื่อรักษาระดับกำลัง Pm (w) ให้คงที่ เพื่อป้องกันมอเตอร์เสียหาย<br><br>เปรียบเทียบแล้วก็คล้ายกับรถยนต์ หรือรถบรรทุก หรือ วัวความเทียมเกวียน<br> เมื่อบรรทุกของหนัก คนขับจะรู้ว่าจะวิ่งด้วยความเร็วเท่าไหร่ เช่นไม่เกินร้อยกิโลเมตรต่อชั่วโมง และเมื่อส่งของเสร็จเหลือแต่รถตัวเปล่า<br>คนขับก็สามารถเพิ่มความเร็วให้สูงขึ้นได้ <br><br>หรือม้าเทียมเกวียนสมัยโบราญก็เช่นกัน เมื่อขุนศึกออกไปรบ มีการบรรทุกเสบียงไปด้วย ก็ไปแบบช้าๆ ไม่ให้เกินพิกัดแรงม้า<br>ยามพลาดพลั้งเสียท่าแก่ข้าศึก ขุนศึกก็จะถีบเสบียงอาหารทิ้ง และก็วิ่งหนีด้วยเกวียนหรือม้าตัวเปล่า เพือลดทอร์คและเพิ่มความเร็ว <br>เนื่องจากพิกัดกำลังจำกัด<br>
ความคิดเห็นที่ 2
tun
15/03/2553
11:48 น.
เยี่ยมครับ อธิบายเข้าใจง่ายดี
ความคิดเห็นทั้งหมด 2 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง:
3 July 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD