07/05/2552 16:55 น. |
motorเท่าไรต้อง star-delta |
07/05/2552 19:24 น. |
ไม่มีมาตรฐาน<br><br>ขึ้นอยู่กับความเหมาะ สมของขนาดระบบไฟฟ้าของโรงงาน |
09/05/2552 15:49 น. |
>7.5kw |
11/05/2552 12:31 น. |
อยู่ที่ค่าใช้จ่ายไฟฟ้า สตารท์บ่อยไหม เทียบกับค่าอุปกรณ์คุ้มทุนกับค่าไฟเมื่อไร<br>จบข่าว |
19/05/2552 18:18 น. |
ขึ้นอยู่กับ name plate ของมอเตอร์ ด้วย ปกติมอเตอร์ ต่ำกว่า3Kw แรงดันจะเป็น 380/690 V ซึ้งสามารถสตาร์ทแบบ สตาร์-เดลต้า ได้ ส่วน การใช้Kw เป็นตัวกำหนดนั้นจะมองในมุม ของการลดกระแส ช่วงสตาร์ท แต่ถ้าแหล่งจ่ายไฟฟ้ามีขนาดใหญ่พอก้อไม่จำเป็น |
19/05/2552 18:19 น. |
ขึ้นอยู่กับ name plate ของมอเตอร์ ด้วย ปกติมอเตอร์ สูงกว่า3Kw แรงดันจะเป็น 380/690 V ซึ้งสามารถสตาร์ทแบบ สตาร์-เดลต้า ได้ ส่วน การใช้Kw เป็นตัวกำหนดนั้นจะมองในมุม ของการลดกระแส ช่วงสตาร์ท แต่ถ้าแหล่งจ่ายไฟฟ้ามีขนาดใหญ่พอก้อไม่จำเป็น |
21/05/2552 16:44 น. |
โดยทั่ว ๆ ไปก็เริ่มที่ขนาด 5.5 kw เป็นต้นไป เพราะส่วนใหญ่มอเตอร์ที่มากกว่า 5.5 kW ก็จะออกแบบให้มีการ Start แบบ Delta ครับ เลยนำมา Start แบบ Star-delta ได้ |
05/06/2552 11:44 น. |
Knowledge Center ไม่มีความจำเป็นต้องใช้ Starter แบบ Star-Delta <br>ไม่มีความจำเป็นต้องใช้ Magnetic Starter แบบ Star-Delta<br>ฤชากร จิรกาลวสาน<br>ผู้ช่วยศาสตราจารย์<br>ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br>ที่มา : บทความวิชาการชุดที่ 3 สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย<br> เป็นเวลานับสิบๆปี ที่ผู้เขียนได้เห็นการใช้ Magnetic Starter แบบสตาร์เดลตา (Star-Delta) กับมอเตอร์ต่างๆ ในระบบปรับอากาศและระบายอากาศ รวมถึงปั๊มน้ำต่างๆ ระบบอัดอากาศกันควัน และระบบห้องเย็น ซึ่งต้องเสียเงินมากโดยไม่มีความจำเป็น สาเหตุก็เนื่องจากเข้าใจผิดว่า ของแพงต้องดีกว่าของถูกเสมอ ความจริงแล้วหาเป็นเช่นนั้นไม่<br>ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจก่อนว่า มอเตอร์ทั่วๆไปขณะหยุดนิ่งอยู่ ถ้าสตาร์ท (เริ่มเดิน) จะดึงกระแสไฟฟ้าประมาณ 4 ถึง 6 เท่าของกระแสไฟฟ้าปกติเวลาใช้งานเต็มที่ การไฟฟ้านครหลวงซึ่งเป็นผู้จำหน่ายไฟฟ้าสมัยประมาณปี พ.ศ. 2503 เกรงว่ามอเตอร์ของผู้ใช้ไฟฟ้าแต่ละรายตอนสตาร์ท อาจรบกวนซึ่งกันและกัน จึงออกเป้นกฎว่า "เครื่องยนต์ไฟฟ้าขนาดสูงกว่า 15 แรงม้า ต้องเป็นชนิด 3 ยก เครื่องยนต์ไฟฟ้าตั้งแต่ 5 แรงม้า ถึง 50 แรงม้า จะต้องมีกระแสเมื่อเริ่มเดินขึ้นสูงไม่เกิน 250% ของกระแสปกติเวลาใช้งานเต็มที่ มิฉะนั้นจะต้องมีเครื่องประกอบการเริ่มเดินที่จะยังผลให้ กระแสเมื่อเริ่มเดินสูงไม่เกิน 250% ของกระแสปกติเวลาใช้งานเต็มที่" แต่มีย่อหน้าต่อไปว่า "...สำหรับการติดตั้งเครื่องยนต์ไฟฟ้าหลายๆเครื่อง ถ้าเครื่องยนต์ไฟฟ้าขนาดเล็กมีกระแสไฟฟ้าเมื่อเริ่มเดินไม่สูงกว่ากระแสเริ่มเดินที่กำหนดให้ (250% ของกระแสปกติเวลาใช้งานเต็มที่) ของเครื่องยนต์ไฟฟ้าที่ใหญ่ที่สุดแล้วอาจจะใช้เครื่องยนต์ไฟฟ้าขนาดเล็กดังกล่าวได้โดยไม่ต้องติดตั้งเครื่องประกอบการเริ่มเดิน" และมีหัวข้อต่อไปว่า "เครื่องยนต์ไฟฟ้าขนาด 50 แรงม้าขึ้นไป ต้องมีเครื่องประกอบการเริ่มเดินที่เหมาะสม ซึ่งจะตัดกระแสไฟฟ้าเมื่อกระแสไฟฟ้าสูงเกินกำหนด หรือ แรงดันต่ำกว่ากำหนด พร้อมด้วยอุปกรณ์ป้องกันการใช้ผิด (interlocking device)" เป็นที่น่าแปลกใจ วิศวกรเกือบทุกคนสนใจเฉพาะข้อความต้นและท้ายเท่านั้น ส่วนกลางที่ขีดเส้นใต้ไว้ กลับไม่มีใครสนใจ เกือบทุกคนจะใช้การสตาร์ทแบบ Star-Delta สำหรับมอเตอร์ทุกตัวที่มีขนาดตั้งแต่ 5 แรงม้าเป็นต้นไป สาเหตุที่พอจะเดาได้ก็คือ ความเข้าใจผิดจากตัวเอง และจากตำราหลายเล่มที่เขียนชวนเข้าใจผิด ความเข้าใจผิดต่างๆ อาจจะวิเคราะห์ได้ดังต่อไปนี้<br> |
05/06/2552 11:47 น. |
เอาข้อความข้างบนไปหาในเน็ตต่อนะถ้าอยากแตกฉาน |
06/06/2552 14:47 น. |
เอาบทความของวิศวเครื่องกลมาสรุปงานไฟฟ้า ก็ไม่น่าจะถูกเท่าไหร่ เพราะรายละเอียดในการพิจารณายังมีอีกมาก ยังไหร่แล้ว ตามความคิด สรุปสั้นๆ การลดขนาดกระแสสตาร์ทลง ย่อมมีผลดีต่อระบบไฟฟ้าอย่างแน่นอน |
20/06/2552 10:46 น. |
เห็นด้วยกับคำตอบที่ 9 ครับ |
26/06/2552 21:45 น. |
ไฟฟ้าส่วนไฟฟ้า เครื่องกลส่วนเครื่องกล |