18/03/2552 12:59 น. |
อยากทราบค่ากระแส motor ตอน no load โดยไม่ต้อง Test ครับ AC motor 3 phase ทุก size เอาไว้มาอ้างอิง<br>จะเป็นตาราง หรือ สูตรคำนวนก็ได้ <br>ขอบคุณครับ |
18/03/2552 13:30 น. |
ทิ้งเมลไว้ครับแล้วจะส่งไปให้ หรือเมลมาที่ <a href="mailto:info-umc@uservices-thailand.com" Target="_BLANK">info-umc@uservices-thailand.com</a> |
24/03/2552 18:44 น. |
ส่งให้แล้วนะครับ |
07/04/2552 00:38 น. |
ขอด้วยคนนะครับ ส่งให้หน่อย<br><br> ขอบคุณล่วงหน้าครับ |
09/04/2552 11:10 น. |
ขอด้วยคนครับ<br>ขอบคุณครับ |
20/04/2552 10:59 น. |
คำตอบที่ 3, 4 ส่งให้แล้วครับ |
21/04/2552 01:45 น. |
ได้ข้อมูลไปแล้ว..อย่านำเอาไปเป็นมาตรฐานกับมอเตอร์ทุกตัวนะครับ เพราะตัวเลขนี้เป็นข้อมูลจากประสบการณ์ การเทสมอเตอร์ที่เขาผลิตใช้งานแบบทั่วๆไป แต่ถ้าเป็นมอเตอร์เขาผลิตขึ้นมาใช้งานเฉพาะแล้วจะใช้ตัวเลขพวกนี้ใช้ไม่ได้ และจะรวมถึงมอเตอร์พวกต้นทุนต่ำด้วย มอเตอร์บางตัวกระแสขณะโนโหลดสูงเกินกว่าตัวเลขที่ให้มา แต่ถ้ามันไปขับโหลดที่พิกัดแล้วกระแสมันไม่เกินพิกัดก้อถือว่าขดลวดมอเตอร์ปกติแล้ว....แต่ถ้าจะไปแก้ไขให้กระแสขณะโนโหลดให้มันลดต่ำลงมาได้ตามตัวเลขที่มา อาจจะใช้งานไม่ได้ก้อได้ หรือใช้ได้แต่อาจไม่ดีหรือมีประสิทธิภาพต่ำอายุการใช้งานสั้น เพราะการแก้ไขให้กระแสโนโหลดต่ำลง ส่วนใหญ่จะใช้วิธีการเพิ่มรอบของขดลวด การเพิ่มรอบของขดลวดจะทำให้ มีค่า XL เพิ่มขึ้นในวงจร ทำให้ค่าอิมพีแดนซ์รวมเพิ่มขึ้น เมื่อจ่ายเเรงดันให้มอเตอร์เท่าเดิมกระแสโนโหลดมันก็จะลดลง แต่สิ่งที่ตามมาของการเพิ่มรอบก้อคือลวดที่ใช้มีความยาวมากขึ้น เมื่อลวดยาวมากขึ้น สิ่งที่ตามมาก้อคือ ความต้านทานของขดลวดมากขึ้น สิ่งที่จะตามมาอีกก้อคือ...ความร้อนที่เกิดเพิ่มหรือการสูญเสียในขดลวดนั้นเอง เเละประสิทธิภาพมอเตอร์ที่ลดลง และยังไม่รวมไปถึงแรงบิดขณะสตาร์ทที่มันถูกลดลงไปด้วย<br><br> |
21/04/2552 01:58 น. |
แต่การลดกระแสโนโหลดด้วยวิธีข้างบนยังดีกว่าอีกวิธีหนึ่ง<br>เพราะมอเตอร์จะยังใช้งานได้ถึงจะไม่ดีนัก<br><br>เพราะยังมีช่างพันมอเตอร์หลายๆคนเข้าใจว่า ถ้าค่าความต้านทานที่เพิ่มมากขึ้นจะทำให้กระแสโนโหลดลดลง ....เขาจึงใช้วิธีลดขนาดของลวดให้เล็กลงแต่พันรอบเท่าเดิม ผลที่ตามมาก้อคือนอกกระแสแทบจะไม่ลดลงแล้ว มอเตอร์จะไม่สามารถนำไปใช้งานได้เลย หรือใช้ได้ก้อใช้ได้ไม่กี่ชั่วโมง<br><br>ดังนั้นการจะยึดเอาไปเป็นมาตรฐานอ้างอิง ควรจะเป็นกรณีๆ ไป <br><br>จากประสบการณ์ของผม เพราะเจ้าตารางมาตรฐานกระแสโนโหลดนี้ละทำให้ผมไม่สามารถปิดงานเสียที ทั้งที่มอเตอร์ตัวนั้นก็ไม่ได้พันใหม่ เป็นการรีคอนดิชั่น ธรรมดาเอง แล้วก็เป็นมอเตอร์ยี่ห้อ เอบีบีด้วยนะ กว่าจะปิดงานก้อต้องรอจนหมดสัญญาว่าจ้าง |
21/04/2552 14:33 น. |
ค่ากระแส Noload ที่ให้ไปเป็นค่ากระแสที่ได้จากคู่มือมอเตอร์ยี่ห้อหนึ่ง ไม่ได้เกิดจากประสบการณ์ และไม่มีสถาบันใดสามารถกำหนดเป็นมาตรฐานได้ ฉะนั้นเอาเป็นแนวทางได้เฉพาะมอเตอร์ส่วนใหญ่ ซึ่งแน่นอนว่ามอเตอร์บางส่วนจะมีค่าไม่ใกล้เคียงเลย |
22/04/2552 10:42 น. |
วิธีที่ลดพลังงานไฟฟ้าจากมอเตอร์จะคิดจาก No load รึป่าวคับ มีวิธีคิดอย่างไร |
19/05/2552 21:22 น. |
ผมขอข้อมูลของพี่UMC ด้วยครับ ขอบคุญมากครับ <a href="mailto:tar_watchara@hotmail.com" Target="_BLANK">tar_watchara@hotmail.com</a> |
23/02/2553 20:25 น. |
ผมขอข้อมูลของพี่UMC ด้วยคนครับ เพื่อเป็นแนวทางการทำงานครับ<br> ขอบคุญมากครับ <a href="mailto:pho_nong@hotmail.com" Target="_BLANK">pho_nong@hotmail.com</a> |
05/09/2556 14:54 น. |
ขอข้อมูลด้วยครับ |
11/09/2556 11:34 น. |
ขอด้วยคนครับ ขอบคุณครับ E-Mail : nattachai1979@gmail.com |
24/07/2561 11:27 น. |
E-Mail : gvafa123@gmail.com ขอด้วยพี่ |