22/01/2552 22:25 น. |
คือถ้าเป็นเดลต้าจะมีแรงดันตกคร่อม380v.<br>แต่ไมการสตารทแบบสตาร์ถึงมีแรงดันตกคร่อม220v.<br>คับไม่เข้าใจ |
23/01/2552 10:32 น. |
แบบเดลต้าวัดจากไลน์-ไลน์ได้ 380 สตาร์วัดไลน์ก้ได้380เหมือนกันแต่ถ้าวัดไลน์-นิวตรอน 220เพราะเดลต้าไม่มีนิวตรอน ผิดถูกยังไงบอกด้วยนะครับ |
23/01/2552 21:53 น. |
แล้วนิวตรอนมาจากไหนคับคือผมหมายถึง<br>การสตาร์ทสตาร์-เดลต้า |
27/01/2552 13:29 น. |
จุดต่อร่วมของสตาร์ไง เดลต้า vไลน์=vเฟส Iไลน์=Root3 I phase<br> สตาร์ vไลน์=Root 3 vเฟส Iไลน์=Iphase |
09/02/2552 11:27 น. |
เธเน |
09/02/2552 11:28 น. |
ทื้ดเเด |
14/02/2552 21:00 น. |
Vline เท่ากับ Sqrt3*Vphase ครับถ้าต่อแบบ Delta ขดลวดแต่ละ Phase จะรับแรงดันเท่ากับแรงดันแหล่งจ่ายเลยครับ แต่ ถ้าต่อแบบ Y (จะมีจุด Neutral หรือ Star Point อยู่ใน Motor ) จะเหมือนว่ามีขดลวค 2 ขดต่อ Series กันมาช่วยกันรับแรงดันจากแหล่งจ่าย ทำให้แรงงดันที่ตกคล่อมในแต่ละขดลวดต่ำลง แต่เนื่องจากมีแรงดันแหล่งจ่าย 3 เฟส ที่มีมุมทางไฟฟ้าและทางกล Shift กันอยู่ 120 องศา เมื่อคำนวณแบบ Phasor จะพบว่าแต่ละขดจะรับแรงดันเท่ากับแรงดัรแหล่งจ่ายหารด้วย sqrt3 (ไม่ใช่แบ่งกันครึ่งพอดี) |
14/02/2552 21:07 น. |
ส่วนการ Start มอเตอร์ เพื่อลดกระแส Start สามารถทำได้โดยการลดแรงดันที่ตกคร่อมขดลวด โดยต่อขดลวดเข้าด้วยกันแบบ Y (มอเตอร์ที่ทำได้ต้องแยกขดลวดปลายขดลวดแต่ละปลายมาไว้ที่ Terminal Box) หลังจาก Start แล้ว เมื่อมอเตอร์เริ่มหมุน กระแสลดลงจึง ต่อมอเตอร์กลับมาเป็นแบบ Delta เพราะมีแรงบิดที่ดีกว่า เนื่องแรงบิดของมอเตอร์แปรผันตามกำลังสองของแรงดันคร่อมขดลวด สำหรับการตัดต่อและเปลี่ยนจาก Y มาเป็น Delta สามารถทำแบบอัติโนมัติโดยใช้อุปกรณ์ประเภท Magnetic Contactor Relay และ Time มาช่วยครับ<br><br>โอมั้ยครับ |
23/04/2552 22:23 น. |
พอดีว่าอยากรู้ว่าแรงบิดเดลต้าดีกว่า แบบ สตาร์อย่างไรครับ มีสมการที่พอจะอธิบายให้เข้าใจไหมครับ ขอบคุณครับ |
17/11/2552 17:27 น. |
ช่วงเวลาการเปลี่ยวจากสตาร์เป็นเดลต้าใช้เวลาเท่าไรคับและถ้าช่วงเวลาช้าเกินไปจะเกิดอะไรบ้าง |