Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,250
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,527
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,834
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,801
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,260
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,332
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,301
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,672
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,692
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,139
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,071
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,288
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,718
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,488
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,499
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,372
17 Industrial Provision co., ltd 40,446
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,099
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,027
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,358
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,257
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,614
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,036
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,828
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,260
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,278
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,637
28 AVERA CO., LTD. 23,392
29 เลิศบุศย์ 22,351
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,114
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,016
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,667
33 แมชชีนเทค 20,604
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,851
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,834
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,628
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,267
38 SAMWHA THAILAND 19,101
39 วอยก้า จำกัด 18,796
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,328
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,122
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,066
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,010
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,007
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,908
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,902
47 Systems integrator 17,451
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,414
49 Advanced Technology Equipment 17,229
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,218
08/09/2551 15:55 น. , อ่าน 7,480 ครั้ง
Bookmark and Share
ปัญหาหลอดฮาโลเจนขาดบ่อย
xxxx
08/09/2551
15:55 น.
บ้านผมใช้โคมไฟฟ้าดาวไลท์ติดหลอดฮาโลเจน 20W 12V ผ่านหม้อแปลง Phillip ทุกตัว(ทั้งหลังประมาณ 150ดวง) การติดตั้งแบ่งวงจรละประมาณ 6 ดวงผ่าน Dimmer SQD 500W <br> บ้านผมตั้งหม้อแปลงขนาด 100KVA<br> ดังกล่าวมาข้างต้นปัญหาคือหลอดไฟฮาโลเจนขาดบ่อยมากอยากทราบสาเหตุและวิธีการแก้ปัญหา
ความคิดเห็นทั้งหมด 8 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
โต้ง
26/09/2551
23:32 น.
ลองโทรมา 0866662927
ความคิดเห็นที่ 2
สุริยา
03/12/2551
12:56 น.
ลองใช้หลอดฮาโลเจนของออสแรม ดูซิครับ เนื่องจากเป็นแบรนเดียวที่นำเข้าจากเยอรมัน และของปลอมไม่มีในตลาด แต่ทางที่ดีซื้อกับร้านค้าที่ขายอุปกรณ์ไฟฟ้าโดยตรง
ความคิดเห็นที่ 3
อิทธิพัทธ์
24/12/2551
20:06 น.
อันตรายจากหลอดฮาโลเจน<br>
ความคิดเห็นที่ 4
ประเสริฐ 086-3328245
06/02/2552
17:51 น.
คุณลองตรวจสอบหม้อแปลงคุณก่อนว่าขนาดเท่าไหร่ ถ้าเป็นหม้อแปลง 50 วัตต์ ละก็ฮาโลเจนขาดบ่อยแน่นอนครับ<br>ถ้าคุณติดตั้งหม้อแปลง 50 วัตต์ / 1 หลอด แล้ว ให้แก้ไขโดยการเพิ่มหลอด หรือใช้หม้อแปลง 50 วัตต์ 1 ตัว/ฮาโลเจน 20 วัตต์ 2 หลอด ครับ (ถ้าเติมน้ำ 50 ซีซี ลงในลูกโป่งที่มีความจุเพียง 20 ซีซี ไม่นานลูกโป่งก็แตกครับ)
ความคิดเห็นที่ 5
วิดวะราชมงคล
15/02/2552
03:27 น.
ถ้าใช้ตัวหรี่ไฟกับหลอดฮาโลเจยจะทำให้อายุหลอดสั้นลงมากขึ้น
ความคิดเห็นที่ 6
V&J
29/06/2552
12:46 น.
เวบ ledbangkok.comเข้ามาสิคะ ไฟ LED คะรับรองหลอดไม่ขาดบ่อยอย่างแน่นอน
ความคิดเห็นที่ 7
ต่อ-MUT
21/07/2552
20:07 น.
คุณลองตรวจสอบหม้อแปลงคุณก่อนว่าขนาดเท่าไหร่ ถ้าเป็นหม้อแปลง 50 วัตต์ ละก็ฮาโลเจนขาดบ่อยแน่นอนครับ<br>ถ้า คุณติดตั้งหม้อแปลง 50 วัตต์ / 1 หลอด แล้ว ให้แก้ไขโดยการเพิ่มหลอด หรือใช้หม้อแปลง 50 วัตต์ 1 ตัว/ฮาโลเจน 20 วัตต์ 2 หลอด ครับ (ถ้าเติมน้ำ 50 ซีซี ลงในลูกโป่งที่มีความจุเพียง 20 ซีซี ไม่นานลูกโป่งก็แตกครับ)<br><br>น้ำกับไฟฟ้าไม่เหมือนกัน และหลอดไฟกับลูกโป่งก็ไม่เหมือนกัน เพราะหลอดเป็นโหลด มันจะกินเท่าที่มันต้องการกิน ส่วนลูกโป่งมันจะกินตราบเท่าที่มีคนป้อนจนท้องแตกตายเอง<br> ถ้าไฟไม่พอกินมันมีโอกาสเสียมากกว่าอีก เช่นเดียวกับที่คุณวิดวะราชมงคลว่าไว้<br><br> อีกอย่างความร้อนสำคัญมากๆ เพราะเวลาติดบนฝ้าจะคว่ำหน้าโคมลง ส่วนความร้อนก็ต้องการลอยขึ้นข้างบน แต่ก็ไม่มีช่องให้มันระบายออกไป เลยทำตัวเป็นเตาอบ อบตัวเองไปในตัว...คงนึกภาพออก...ลองหาวิธีเปิดช่องให้มันระบายบ้างแล้วหลอดจะอายุยาวนานขึ้น (กรณีนี้รวมถึงโคม downlight หลอดชนิดอื่นๆด้วย)
ความคิดเห็นที่ 8
ต่อ-MUT
24/07/2552
16:42 น.
เสริมอีกนิดว่า ค่าวัตต์กับค่ากระแสรของแหล่งจ่ายมีค่ามากกว่าโหลดไม่เป็นไร แต่อย่าให้แรงเคลื่อนหรือแรงดันหรือที่เขียนหน่วยมาเป็นโวลท์(Volt) มากกว่าก็แล้วกันเพราะถ้าเกินน้อยโหลดมันจะค่อยๆ พัง ถ้าเกินมากโหลดมันจะพังไวหรือตุ๊บให้เห็นทันตา แต่ถ้าหากมันน้อยเกินไปโหลดมันก็จะค่อยๆ พังเหมือนกันนะเช่นหลอดฮาโลเจ้นที่ติด Dimmer หรืออย่างพวกมอเตอร์หรือปั๊มน้ำที่ไฟตกนานๆ แล้วชอบใหม้ เพราะไฟตกจนไม่สามารถหมุนได้แต่ยังมีกระแสไหลผ่านขดลวดอยู่ตลอดเวลา มันจะร้อนขึ้นเรื่อยๆ แล้วก็ใหม้ในที่สุด(กรณีปั๊มนี้ถ้าเป็นไม่มากถอดปั๊กทิ้งไว้ให้เย็นอาจจะกลับมาใช้การได้เกือบเหมือนเดิม)
ความคิดเห็นทั้งหมด 8 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง:
4 April 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD