Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,612
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,815
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 174,193
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 174,114
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,549
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,624
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,581
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,957
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 162,136
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,419
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,344
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,542
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 69,028
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,778
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,840
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,634
17 Industrial Provision co., ltd 40,720
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,352
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,314
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,639
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,538
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,859
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,291
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 32,111
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,541
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,550
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,922
28 AVERA CO., LTD. 23,644
29 เลิศบุศย์ 22,628
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,411
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,295
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,978
33 แมชชีนเทค 20,907
34 มากิโน (ประเทศไทย) 20,149
35 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 20,102
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,897
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,530
38 SAMWHA THAILAND 19,424
39 วอยก้า จำกัด 19,170
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,618
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,436
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,341
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,320
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,291
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 18,169
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 18,144
47 Systems integrator 17,719
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,687
49 Advanced Technology Equipment 17,523
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,477
28/05/2551 14:39 น. , อ่าน 2,388 ครั้ง
Bookmark and Share
ช่วยแนะนำ thermocouple ทีครับ
ผู้น้อยด้อยความรู้
28/05/2551
14:39 น.
ผมทำโปรเจ็คควบคุมอุณหภูมิกระทะไฟฟ้า จะใช้ thermocouple เป็นตัววัดอุณหภูมิช่วยแนะนำหน่อยครับเกี่ยวกับรายละเอียดและวิธีใช้งานหรือเบอร์ที่ใช้
ความคิดเห็นทั้งหมด 6 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
thong
29/05/2551
12:24 น.
การเลือก termocouple นั้นมันขึ้นกับว่าอันดับแรก Temp control ที่เราใช้สามารถวัดค่าได้ละเอียดมากน้อยแค่ไหน ค่า +/- ของอุณหภุมิที่ตัว Temp control สามารถวัดได้เท่าไร และต้องการใช้ที่อุณหภุมิสูงสุดเท่าไร เช่น ถ้าเราใช้ temp control ที่สามารถวัดได้ 900 องศา ค่า +/- ของอุณหภุมิ ที่ประมาณ 1-5 องศา ก็ใช้ termocouple เป็นแบบ Type K และถ้าเราใช้ temp control ที่สามารถวัดได้ 900 องศา ค่า +/- ของอุณหภุมิ ที่ประมาณ 0.1-0.5 องศา ก็ใช้termocouple แบบ Pt100 ( rtd ) เป็นต้น แต่การควบคุมที่ต้องการ ค่า +/- ของอุณหภุมิ ที่ 0.1-0.5 นั้นจะต้องใช้ Temp control เป็นแบบ output 4-20 mA ไปคอนโทรลชุด SCR Unit อีกทีถึงจะสามารถควบคุมได้ สรุป termocouple มันมีหลายแบบครับ อยูที่ว่าเราต้องการเอาไปใช้งานที่อุณหภุมิเท่าไร ค่าความระเอียดของการวัด กับ Temp control ที่ใช้รับ Termocouple เป็นแบบไหน และรูปลักษณ์ที่จะนำไปใช้
ความคิดเห็นที่ 2
AJ
31/05/2551
18:18 น.
ขึ้นไปดูกระทู้ที่ 13578ได้เลยครับ
ความคิดเห็นที่ 3
เด็ก
01/06/2551
16:33 น.
ขอบคุณคับ<br>
ความคิดเห็นที่ 4
aj,มาเเล้ว (copyจาก13578)
04/06/2551
16:50 น.
Thermister<br><br><br><br>Temperature Detector ( ตัวตรวจจับความร้อน ) ที่ใช้ในการตรวจจับความร้อนของมอเตอร์แบ่งออกได้เป็น 4 ประเภทคือ<br><br>1. ไบเมทอลลิค หรือ เทอร์โมสตัท ( Bimetallic / Thermostat )<br>2. เทอร์มิสเตอร์ ( Thermister )<br>3. อาร์ทีดี ( RTD )<br>4. เทอร์โมคัปเปิ้ล ( Thermocouple )<br><br><br><br>1. ไบเมทอลลิค หรือ เทอร์โมสตัท ( Bimetallic / Thermostat )<br><br>Bimetallic เป็นอุปกรณ์ตัวจับความร้อนที่ใช้สำหรับป้องกันอุณหภูมิที่สูงเกินกว่าค่าที่กำหนดไว้ที่ตัวเซนเซอร์<br><br>Bimetallic ทำงานเหมือนเทอร์โมสตัทของเตารีด จะถูกติดตั้งไว้ที่ขดลวดบริเวณปลายคอยล์เนื่องจากมีขนาดค่อนข้างใหญ่ เพราะตัวมันเองจะมีหน้าสัมผัสอยู่แล้ว การใช้งานจะนำไปต่อเข้ากับชุดคอนโทรลโดยตรง<br><br>2. เทอร์มิสเตอร์ ( Thermister )<br><br>Thermister เป็นอุปกรณ์ตัวจับความร้อนที่ใช้สำหรับป้องกันอุณหภูมิที่สูงเกินกว่าค่าที่กำหนดไว้ที่ตัวเซนเซอร์ จะทำงานร่วมกับรีเลย์ ตัวมันเองมีขนาดเล็ก และเป็นตัวตรวจจับความร้อนที่นิยมใช้มากที่สุด <br><br>Thermister ผลิตจากการโด๊ปสารเซมิคอนดักเตอร์ประเภทหนึ่ง ทำให้มีคุณสมบัติมีค่าความต้านทานเปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ<br>Thermister มีอยู่สองประเภทคือ NTC และ PTC ชนิดที่ใช้ในวงการมอเตอร์ คือ ชนิด PTC โดยมีหลักการทำงานคือค่าความต้านทานของตัวมันจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น แต่การเพิ่มขึ้นของค่าความต้านทาน จะไม่เป็นเส้นตรง และมีการลดลงในบางช่วงซึ่งเป็นช่วงที่ไม่อยู่ในจุดที่ใช้งาน ยกตัวอย่างเช่น Thermister PTC 150 ถ้าเราให้ความร้อนที่ตัวเซนเซอร์ในช่วงแรกค่าความต้านทานของมันจะลดลงเล็กน้อย ปกติค่าความต้านทานจะอยู่ประมาณ 50 โอห์มที่ 30 องศา แต่เมื่ออุณหภูมิที่ตัวเซนเซอร์ตรวจจับได้มีอุณหภูมิประมาณ 130 องศาค่าความต้านทานของมันจะเพิ่มสูงขึ้นและจะสูงขึ้นเกือบเป็นเส้นตรงเมื่อมีอุณหภูมิที่ตัวจับได้ 145 องศา<br><br><br><br>Thermister จะถูกนำไปต่อเข้ากับ Thermister Relay ที่มีหน้าที่คอยตรวจจับค่าความต้านทานของ Thermister ว่ามีความต้านทานตามที่กำหนดไว้หรือยัง ซึ่งปกติจะอยู่ประมาณ 2700 -3500 โอห์ม นั่นก็หมายความว่า Thermister PTC 150 ที่อุณหภูมิ 150 องศา ตัวมันเองจะมีค่าความต้านทานที่เกินกว่าค่า 2700-3500 โอห์ม นั่นก็หมายความว่าเมื่ออุณหภูมิสูงถึง 150 องศาค่าความต้านทานของ Thermister จะเป็นตัวสั่งให้ Thermister Relay ทริปวงจรออก <br><br>จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นว่าหากเราต้องการเปลี่ยนจุดทริปของวงจรควบคุมมอเตอร์ให้สูงขึ้นหรือต่ำลง เราต้องทำการเปลี่ยนชนิดของเทอร์มิสเตอร์ ไม่ใช่ไปปรับแต่งที่ เทอร์มิสเตอร์รีเลย์<br><br>ส่วนเทอร์มิสเตอร์ประเภท NTC จะมีคุณสมบัติตรงข้ามกับแบบ PTC และให้อัตราการเปลี่ยนแปลงด้านความต้านทานต่ออุณหภูมิที่ค่อนข้างเกือบคงที่กว่า แต่มักจะถูกใช้ในตัวเซ็นเซอร์ประเภทเครื่องมือวัดอุณหภูมิประเภทมือถือเสียเป็นส่วนใหญ่<br><br><br><br>3.RTD <br><br>มีหลายประเภท ประเภทที่นิยม คือ PT100 โดยที่ PT100 มีความหมายว่า ที่อุณหภูมิ 0 องศาตัว PT100 จะมีค่าความต้านทาน 100 โอห์ม RTD ต้องใช้ร่วมกับรีเลย์เช่นกัน สามารถเซ็ทได้เป็นทั้งชุดป้องกันอุณหภูมิสูง หรือใช้วัดค่าอุณหภูมิได้เลย<br>ข้อเสียมีราคาค่อนข้างแพง เลยมักจะใช้ติดตั้งกับมอเตอร์ที่เป็นมอเตอร์ขนาดใหญ่และมีแรงดันเป็นระดับ Medium Volt<br><br>4.Thermocoulple <br><br>เป็นตัวตรวจจับที่ไม่นิยมใช้ตรวจจับอุณหภูมิของขดลวด เนื่องจากหลักการทำงานตัวมันเองจะผลิตแรงดันออกมา ฉะนั้นเมื่อนำไปติดตั้งในที่มีสนามเเม่เหล็กจะก่อให้เกิดสัญญาณรบกวนค่อนข้างมาก จึงมักจะนิยมใช้ติดตั้งเพื่อวัดอุณหภูมิด้านนอกมอเตอร์ จำพวก แบริ่ง น้ำมันหล่อลื่น<br><br><br><br><br><br>Thermister<br><br><br><br>Temperature Detector ( ตัวตรวจจับความร้อน ) ที่ใช้ในการตรวจจับความร้อนของมอเตอร์แบ่งออกได้เป็น 4 ประเภทคือ<br><br>1. ไบเมทอลลิค หรือ เทอร์โมสตัท ( Bimetallic / Thermostat )<br>2. เทอร์มิสเตอร์ ( Thermister )<br>3. อาร์ทีดี ( RTD )<br>4. เทอร์โมคัปเปิ้ล ( Thermocouple )<br><br><br><br>1. ไบเมทอลลิค หรือ เทอร์โมสตัท ( Bimetallic / Thermostat )<br><br>Bimetallic เป็นอุปกรณ์ตัวจับความร้อนที่ใช้สำหรับป้องกันอุณหภูมิที่สูงเกินกว่าค่าที่กำหนดไว้ที่ตัวเซนเซอร์<br><br>Bimetallic ทำงานเหมือนเทอร์โมสตัทของเตารีด จะถูกติดตั้งไว้ที่ขดลวดบริเวณปลายคอยล์เนื่องจากมีขนาดค่อนข้างใหญ่ เพราะตัวมันเองจะมีหน้าสัมผัสอยู่แล้ว การใช้งานจะนำไปต่อเข้ากับชุดคอนโทรลโดยตรง<br><br>2. เทอร์มิสเตอร์ ( Thermister )<br><br>Thermister เป็นอุปกรณ์ตัวจับความร้อนที่ใช้สำหรับป้องกันอุณหภูมิที่สูงเกินกว่าค่าที่กำหนดไว้ที่ตัวเซนเซอร์ จะทำงานร่วมกับรีเลย์ ตัวมันเองมีขนาดเล็ก และเป็นตัวตรวจจับความร้อนที่นิยมใช้มากที่สุด <br><br>Thermister ผลิตจากการโด๊ปสารเซมิคอนดักเตอร์ประเภทหนึ่ง ทำให้มีคุณสมบัติมีค่าความต้านทานเปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ<br>Thermister มีอยู่สองประเภทคือ NTC และ PTC ชนิดที่ใช้ในวงการมอเตอร์ คือ ชนิด PTC โดยมีหลักการทำงานคือค่าความต้านทานของตัวมันจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น แต่การเพิ่มขึ้นของค่าความต้านทาน จะไม่เป็นเส้นตรง และมีการลดลงในบางช่วงซึ่งเป็นช่วงที่ไม่อยู่ในจุดที่ใช้งาน ยกตัวอย่างเช่น Thermister PTC 150 ถ้าเราให้ความร้อนที่ตัวเซนเซอร์ในช่วงแรกค่าความต้านทานของมันจะลดลงเล็กน้อย ปกติค่าความต้านทานจะอยู่ประมาณ 50 โอห์มที่ 30 องศา แต่เมื่ออุณหภูมิที่ตัวเซนเซอร์ตรวจจับได้มีอุณหภูมิประมาณ 130 องศาค่าความต้านทานของมันจะเพิ่มสูงขึ้นและจะสูงขึ้นเกือบเป็นเส้นตรงเมื่อมีอุณหภูมิที่ตัวจับได้ 145 องศา<br><br><br><br>Thermister จะถูกนำไปต่อเข้ากับ Thermister Relay ที่มีหน้าที่คอยตรวจจับค่าความต้านทานของ Thermister ว่ามีความต้านทานตามที่กำหนดไว้หรือยัง ซึ่งปกติจะอยู่ประมาณ 2700 -3500 โอห์ม นั่นก็หมายความว่า Thermister PTC 150 ที่อุณหภูมิ 150 องศา ตัวมันเองจะมีค่าความต้านทานที่เกินกว่าค่า 2700-3500 โอห์ม นั่นก็หมายความว่าเมื่ออุณหภูมิสูงถึง 150 องศาค่าความต้านทานของ Thermister จะเป็นตัวสั่งให้ Thermister Relay ทริปวงจรออก <br><br>จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นว่าหากเราต้องการเปลี่ยนจุดทริปของวงจรควบคุมมอเตอร์ให้สูงขึ้นหรือต่ำลง เราต้องทำการเปลี่ยนชนิดของเทอร์มิสเตอร์ ไม่ใช่ไปปรับแต่งที่ เทอร์มิสเตอร์รีเลย์<br><br>ส่วนเทอร์มิสเตอร์ประเภท NTC จะมีคุณสมบัติตรงข้ามกับแบบ PTC และให้อัตราการเปลี่ยนแปลงด้านความต้านทานต่ออุณหภูมิที่ค่อนข้างเกือบคงที่กว่า แต่มักจะถูกใช้ในตัวเซ็นเซอร์ประเภทเครื่องมือวัดอุณหภูมิประเภทมือถือเสียเป็นส่วนใหญ่<br><br><br><br>3.RTD <br><br>มีหลายประเภท ประเภทที่นิยม คือ PT100 โดยที่ PT100 มีความหมายว่า ที่อุณหภูมิ 0 องศาตัว PT100 จะมีค่าความต้านทาน 100 โอห์ม RTD ต้องใช้ร่วมกับรีเลย์เช่นกัน สามารถเซ็ทได้เป็นทั้งชุดป้องกันอุณหภูมิสูง หรือใช้วัดค่าอุณหภูมิได้เลย<br>ข้อเสียมีราคาค่อนข้างแพง เลยมักจะใช้ติดตั้งกับมอเตอร์ที่เป็นมอเตอร์ขนาดใหญ่และมีแรงดันเป็นระดับ Medium Volt<br><br>4.Thermocoulple <br><br>เป็นตัวตรวจจับที่ไม่นิยมใช้ตรวจจับอุณหภูมิของขดลวด เนื่องจากหลักการทำงานตัวมันเองจะผลิตแรงดันออกมา ฉะนั้นเมื่อนำไปติดตั้งในที่มีสนามเเม่เหล็กจะก่อให้เกิดสัญญาณรบกวนค่อนข้างมาก จึงมักจะนิยมใช้ติดตั้งเพื่อวัดอุณหภูมิด้านนอกมอเตอร์ จำพวก แบริ่ง น้ำมันหล่อลื่น<br>
ความคิดเห็นที่ 5
mo_eit
10/06/2551
11:58 น.
ผมจำหน่ายอุปกรณ์พวกนี้อยู่ครับ หายสนใจโทรมาคุยกันดูครับ<br>จะช่วยแนะนำให้ 085-1237121 วสันต์ ครับ
ความคิดเห็นที่ 6
มงคล
21/06/2552
14:34 น.
ผมจะทำโปรแจ็คเทอร์โมรูมแอร์โดยใช้เซนเซอร์ตัดผ่านการทำงานโดยอัตโนมัติใครมีวิธีช่วยบอกทีคับว่าใช้อุปกรณ์อะไรบ้างคับ
ความคิดเห็นทั้งหมด 6 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง:
3 July 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD