Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,609
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,811
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 174,188
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 174,110
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,547
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,622
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,579
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,955
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 162,128
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,415
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,340
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,541
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 69,023
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,775
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,838
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,628
17 Industrial Provision co., ltd 40,716
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,350
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,313
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,633
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,536
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,858
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,289
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 32,107
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,540
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,548
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,920
28 AVERA CO., LTD. 23,640
29 เลิศบุศย์ 22,627
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,409
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,294
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,975
33 แมชชีนเทค 20,904
34 มากิโน (ประเทศไทย) 20,147
35 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 20,100
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,896
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,529
38 SAMWHA THAILAND 19,422
39 วอยก้า จำกัด 19,161
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,614
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,435
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,339
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,319
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,290
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 18,165
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 18,141
47 Systems integrator 17,718
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,684
49 Advanced Technology Equipment 17,521
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,472
08/05/2551 16:26 น. , อ่าน 2,129 ครั้ง
Bookmark and Share
อยากรู้
ตรี
08/05/2551
16:26 น.
อยากรู้เนื้อหาเกี่ยวกับระบบกราวด์
ความคิดเห็นทั้งหมด 2 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
เล็ก
15/05/2551
19:38 น.
เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.2539 การไฟฟ้านครหลวงได้ออกประกาศให้ผู้ยื่นขอไฟฟ้ารายใหม่ จะต้องเดินสายไฟฟ้าให้มีระบบต่อลงดิน รวมทั้งต้องติดเต้ารับไฟฟ้าทุกตัวให้เป็นเต้ารับไฟฟ้าชนิดที่มีขั้วสายดิน นอกจากนี้ผู้ที่ขอใช้ไฟฟ้าเพิ่ม จะต้องมีการต่อระบบสายดินที่เมนสวิตซ์ หรือ อุปกรณ์สำหรับสับปลดวงจรที่มีอยู่ระหว่างสายเมนเข้ากับอาคารกับสายภายใน เป็นอย่างน้อย โดยประกาศดังกล่าวได้มีผลใช้บังคับเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้เพื่อเป็นหลักประกันความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้าให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล และเป็นการช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้นอีกระดับ ระบบสายดินเพื่อความปลอดภัย หมายถึง ระบบการเดินสานไฟเพื่อให้ทำหน้าที่เป็นสายดิน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการใชไฟฟ้า จะมีส่วนประกอบที่สำคัญ 4 ส่วนด้วยกันคือ 1. หลักดิน คือ วัตถุที่ฝังอยู่ในดินที่ทำหน้าที่กระจายประจุไฟฟ้า หรือ กระแสไฟฟ้า ให้ไหลลงดินได้โดยสะดวก2. สายต่อหลักดิน คือ สายตัวนำที่ใช้ต่อระหว่างหลักดินกับส่วนที่ต้องการต่อลงดิน3. สายดินของอุปกรณ์ไฟฟ้า คือ สายตัวนำที่ต่อระหว่างขั้วต่อสายดินที่ได้มีการต่อลงดภายในตู้แผงสวิตซ์ประธานไปยังเปลือกโลหะของเครื่องใช้ไฟฟ้าและ4. สายต่อฝาก หรือ สายประสาน เป็นสายตัวนำที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างขั้วต่อสานดิน หรือ ขั้วต่อสายศูนย์ที่มีการต่อลงดิน หรือ ตัวนำที่มีการต่อลงดิน กับวัตถุตัวนำอื่น ๆ ภายในบริเวณเดียวกัน เพื่อให้การปฏิบัติมีประสิทธิภาพจึงได้มีกฏการเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าของการไฟฟ้านครหลวงพ.ศ.2538 ซึ่งมีสาระสังเขปเกี่ยวกับการติดตั้งระบบสายดินเพื่อความปลอดภัย ไว้ดังนี้ 1. ต้องมีการต่อลงดินในสายเส้นที่ไม่มีไฟที่เมนสวิตซ์โดยใช้หลักดินยาว 2.4เมตร ฝังลงไปในดิน2. เต้ารับทุกตัวจะต้องมีขั้วสายดินและเดินสานดินจากขั้วของเต้ารับมาต่อลงดินร่วมกับสายเส้นที่ไม่มีไฟที่เมนสวิตซ์3. ให้ต่อสายดินจากเครื่องใช้ไฟฟ้ามายังปลั๊กหรือเต้าเสียบที่มีขั้วสายดิน และต้องใช้เต้าเสียนั้นกับเต้ารับชนิดที่มีขั้วสายดินด้วย ในกรณีที่เครื่องใช้ไฟฟ้าไม่ใช้เต้าเสียบ แต่รับไฟจากสวิตซ์ตัดตอนหรือสวิตซ์อัตโนมัติให้เดินสายดินจากจุดที่ต่อลงดินที่เปลือกของเครื่องใช้ไฟฟ้ามาที่เมนสวิตซ์แล้วร่วมต่อลงดินกับสายเส้นที่ไม่มีไฟที่ตู้เมนสวิตซ์เช่นเดียวกัน ทั้งนี้เครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีสายดินจะมีสัญลักษณ์ที่แสดงเป็นสากลไว้ในตำแหน่งที่ต้องต่อสายดิน ส่วนเครื่องไฟฟ้าชนิดที่ไม่จำเป็นต้องมีสายดินจะต้องมีความหนาของฉนวนไฟฟ้าเป็น2 เท่าของความหนาปกติ นอกจากนี้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้กับไฟฟ้าแรงดันไม่เกิน 50โวลต์ โดยต่อกับหม้อแปลงไฟฟ้าชนิดพิเศษที่ออกแแบไว้เพื่อความปลอดภัยก็ไม่จำเป็นต้องต่อสายดินเช่นเดียวกัน สำหรับเครื่องตัดกระแสไฟฟ้ารั่วในระบบที่ไม่มีการต่อระบบสายดินนั้น กระแสไฟฟ้าจะไหลลงดินไม่สะดวก ทำให้เครื่องตัดกระแสไฟฟ้ารั่วไม่ทำงาน นอกจากจะมีไฟฟ้ารั่วในปริมาณที่มากเกินพอเครื่องจึงจะตัดกระแสไฟฟ้า นับว่าเป็นอันตรายอย่างยิ่ง ซึ่งแท้จริงแล้วเครื่องตัดกระแสไฟฟ้าที่ดีควรต้องสามารถตัดกระแสไฟฟ้าได้ภายใน 0.04 วินาที ขณะเดียวกันก็ต้องมีความไวที่ไม่ไวมากเกินไปเพราะอาจทำให้เกิดการตัดกระแสไฟฟ้าอยู่เรื่อยทำให้เกิดความไม่สะดวกแก่ผู้ใช้ไฟฟ้า ดังนั้นการพิจารณาวางระบบสายดินเพื่อความปลอดภัยและการใช้เครื่องตัดกระแสไฟฟ้าควบคู่กันจะมีประสิทธิภาพในการป้องกันอุบัติเหตุและอันตรายจากไฟรั่วหรือไฟดูดทำให้มีความปลอดภัยสูงขึ้นแม้ว่าการติดตั้งระบบสายดินจะมีค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้นกว่าระบบเดิมถึงประมาณร้อยละ20 ก็ตาม แต่หากเทียบกับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินซึ่งประมาณค่ามิได้ เชื่อว่าทุก ๆ ท่านคงยินดีที่จะทำเพื่อความปลอดภัยที่เพิ่มขึ้น
ความคิดเห็นที่ 2
วีระศักดิ์
29/05/2551
16:55 น.
มีเนื้อหาในวารสาร เทคนิค เครื่องกล ไฟฟ้า และอุตสาหการ หรือในเรื่องน่ารู้เทคนิคไฟฟ้า มีขายที่ร้านซีเอ็ดครับ.
ความคิดเห็นทั้งหมด 2 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง:
2 July 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD