12/09/2550 16:34 น. |
อยากทราบวิธีคำนวณค่า KVARเพื่อแก้ PFของหม้อแปลงขนาด 1000 KVA / 380/220 VOLT<br><a href="mailto:Chogoon@gmail.com" Target="_BLANK">Chogoon@gmail.com</a> |
13/09/2550 19:47 น. |
<a href="http://www.nectec.or.th/courseware/electrical/pdf-document/pf_correct2.pdf" Target="_BLANK">www.nectec.or.th/courseware/electrical/pdf-document/pf_correct2.pdf</a> |
14/09/2550 14:23 น. |
ผมคำนวนให้เลยนะครับ สำหรับหม้อแปลง 1000KVA <br>ใช้ 30%ของขนาดหม้อแปลง นั่นคือใช้ 300 kvar ครับ<br>อยากรู้รายละเอียด <a href="http://www.tintegrator.com" Target="_BLANK">www.tintegrator.com</a> |
14/09/2550 15:43 น. |
กำหนดค่า PF = 0.7<br>W=S*PF=1000*0.7=700kW<br>Q1=sqt(1000^2-700^2)=714kVAR<br>ต้องการปรับ PF=0.85<br>W=S*PF<br>S=W/PF=700/0.85=823kVA<br>Q2=sqt(823^2-700^2)=432kVAR<br>CkVAR=Q2-Q1=714-432=282kVAR<br>ค่าCKVAR ที่เลือกใช้=282kVAR |
15/09/2550 21:54 น. |
แล้ว 282kVAR นี่ไปหาซื้อที่ใหนครับ |
18/09/2550 09:26 น. |
282 kVAR. ไม่มีหรอกครับ<br>คุณต้องใช้ขนาด 50kVAR จำนวน 6 ตัว จะได้ 300 kVAR.<br>เผื่อไว้นิดหน่อย <br>สนใจติดต่อผมได้ครับ <br>089-785-7812<br>089-765-8957 |
11/06/2551 16:41 น. |
ต้องการสั่งซื้อคาปาซิเตอร์ |
09/01/2552 20:36 น. |
โทรมาเบอร์นี้ครับ 0872205445<br>เฮีย พงษ์ชิต ป้องแก้ว |
25/06/2552 18:43 น. |
เมื่อรู้ค่า kvar ที่การไฟฟ้าเรียกเก็บ 2,315 /ด อยากทราบว่าจะหาค่า PF เท่ากับ ?<br><a href="mailto:E-mail:amphol_pts@hotmail.com" Target="_BLANK">E-mail:amphol_pts@hotmail.com</a> |
04/09/2552 14:20 น. |
กฟภ ไม่ได้คิดค่า pf ต่ำกว่า 0.85 copy มาให้อ่านจาก กฟภ<br><br>กฟภ. จะเรียกเก็บค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ (P.F.) กับผู้ใช้ไฟฟ้าประเภทที่ 3 กิจการขนาดกลาง ประเภทที่ 4 กิจการขนาดใหญ่ และประเภทที่ 5 กิจการเฉพาะอย่าง โดยจะคิดค่า P.F. จากค่ากิโลวาร์สูงสุดเฉพาะในส่วนที่เกินจากร้อยละ 61.97 ของค่าความต้องการพลังงานไฟฟ้าสูงสุดในอัตรากิโลวาร์ละ 14.02 บาท (เศษของกิโลวาร์ถ้าไม่ถึง 0.5 กิโลวาร์ตัดทิ้ง ตั้งแต่ 0.5 กิโลวาร์ขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลวาร์ ) ดังตัวอย่างวิธีการคิดค่าไฟฟ้า<br>ตัวอย่างการคิดค่าไฟฟ้า<br>ตัวอย่างที่ 1 ค่าไฟฟ้าอัตราประเภทที่ 3 กิจการขนาดกลาง อัตราปรกติ(ระดับแรงดัน 22-23 กิโลโวลท์)<br>ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด 100 กิโลวัตต์<br>หน่วยการใช้ไฟฟ้า 50,000 หน่วย/เดือน<br>ค่ากิโลวาร์สูงสุด 85 กิโลวาร์<br><br><br>1. ค่าไฟฟ้าฐาน <br>1.1 ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า = ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า x อัตราค่าไฟฟ้า<br> = 100 x 196.26 <br> = 19,626.00 บาท <br>1.2 ค่าพลังงานไฟฟ้า = หน่วยการใช้ไฟฟ้า x อัตราค่าไฟฟ้า <br> = 50,000 x 1.7034 <br> = 85,170.00 บาท <br>รวมค่าไฟฟ้าฐาน = 19,626.00 + 85,170.00 <br> = 104,796.00 บาท <br><br><br>2. ค่าไฟฟ้าผันแปร ( ค่า Ft ) หน่วยละ 0.4328 ( เช็คค่า Ft ปัจจุบันได้ที่นี่ ) <br>หน่วยละ 0.4328 บาท/หน่วย <br> = หน่วยการใช้ไฟฟ้า x ค่า Ft <br> = 50,000 x 0.4328 <br> = 21,640.00 บาท <br><br><br>3. ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ <br>คิดจากค่ากิโลวาร์สูงสุดเฉพาะส่วนที่เกิน 61.97% ของความต้องการไฟฟ้าสูงสุด ในอัตรากิโลวาร์ละ 14.02 บาท <br><br> = 85.5 - (61.97 x 100)/100 <br> = 23.53<br> = 24 (ทศนิยมไม่ถึง 0.5 ปัดทิ้ง)<br> = 24 x 14.02 <br> = 336.48 บาท <br><br><br>4. ค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม 7 %<br> = (ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่า Ft + ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์) x 7 / 100 <br> = (104,796.00 + 21,640.00 + 336.48) x 7 / 100 <br> = 8,874.07 บาท <br>** รวมเงินที่ต้องชำระ = 104,796.00 + 21,640.00 + 8,874.07 <br> = 135,646.55 บาท <br> |