16/12/2546 23:39 น. |
ผมอยากทราบวงจร คอนโทรลการสตาร์ตมอเตอร์แบบสตาร์ และการรันแบบเดลต้า ทำไมเขาต้องสตาร์ตมอเตอร์แบบนี้ครับ.<br> |
18/12/2546 06:30 น. |
หาอ่านได้จากหนังสือ "การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า" <br>โดย ผศ.ประสิทธิ์ พิทยพัฒน์ |
31/12/2546 01:38 น. |
start แบบ star ค่ากระแสสตาร์ทจะน้อยแต่แรงบิดต่ำทำให้ นิ่มนวลกว่า และไม่เกิดแรงดันตกมาก <br>start แบบ delta กระแสสตาร์ทสูงกว่า แรงบิดดีขึ้น ให้แรงบิดได้ดีตลอดช่วงใช้งาน |
10/12/2547 12:54 น. |
ถ้าจะนำไปใช้ต้องเข้าใจสภาวะของ load หรือชนิดของ load นั้น ๆ ให้ดี ๆ เช่น Constant Torque, หรือ Variable Torque เพราะเมื่อมอเตอร์กำลังหมุนอยู่ในวงจร star นั้น เมื่อมันถึงจุด pull out torque ควรเปลี่ยนวงจรไป delta ได้แล้ว เพราะจะทำให้มอเตอร์อาจจะไหม้ และทำให้กระแสการทำงานในวงจร delta สูงเกินความจำเป็น |
19/11/2549 09:16 น. |
คำตอบที่1<br>เพื่อลดกระแส และแรงดัน |
09/01/2550 16:01 น. |
เพือลดกระแสไฟฟ้า ขณะ run ครับ เพราะแบบเดลต้ากินกระแสน้อย แต่ไม่ได้ลดแรงดัน อย่าเข้าใจผิดนะแรงดันน่ะเท่าเดิมครับ |
22/03/2550 07:57 น. |
อยากทราบข้อมูล |
24/11/2550 00:40 น. |
ใช้เฉพาะวงจรรีเลย์ได้ไหม |
24/06/2551 17:01 น. |
ผมอยากทราบวงจร คอนโทรลการสตาร์ตมอเตอร์แบบสตาร์ และการรันแบบเดลต้า ทำไมเขาต้องสตาร์ตมอเตอร์แบบนี้ครับ.<br> |
13/07/2551 17:10 น. |
มอเตอร์ที่เหมาะเเก่การสตาร์ทสตาร์เดลต้าควรมีกี่เเรงม้า |
10/09/2551 10:17 น. |
ทำไมต้องสตาร์ทแบบstarและrunแบบdeltaด้วยครับ<br> |
18/02/2552 14:02 น. |
มันเป็นอยางไงหรือค่ะ |
07/03/2552 02:04 น. |
จริงๆแล้วเมื่อพิจารณา วงจรมอเตอร์ มีหลักการทำงานเหมือนหม้อแปลงไฟฟ้า คือ power input และ outputจะเท่ากัน แต่มอเตอร์มีการสูญเสียทางกลด้วย แต่หม้อแปลงมีแค่ lossของขดลวด และแกนเหล็กเท่านั้น.......การstart แบบstar คือ V*1.732 แต่กระแสil=iphase เพื่อจำกัดกระแสขณะstart แต่ power DELTA กับ STAR เท่ากัน เเรงดันและกระแสต่างกันที่ ค่าคงตัวรางที่สองคือ 1.732เท่านั้น ลองกดเครื่องคิดเลขดูนะครับ... |
22/04/2552 20:49 น. |
ใช้ivnertor และsoftstart ควบคุมmotor ดีกว่าใช้star-delta<br>ปัจจุบันใช้กันแพร่หลาย |
08/05/2552 13:59 น. |
วงจรสตาร์-เดลต้า |
29/05/2552 15:14 น. |
กดัพืด<br> |