Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 176,796
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,169
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,455
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,452
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,911
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,028
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,003
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,292
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,143
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,816
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,771
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,970
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,314
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,815
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,160
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,050
17 Industrial Provision co., ltd 39,847
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,798
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,712
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,040
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,971
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,319
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,739
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,467
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,974
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,967
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,346
28 AVERA CO., LTD. 23,102
29 เลิศบุศย์ 22,061
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,819
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,710
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,326
33 แมชชีนเทค 20,314
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,575
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,543
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,282
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,961
38 SAMWHA THAILAND 18,739
39 วอยก้า จำกัด 18,405
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,976
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,821
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,758
43 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,724
44 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,668
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,601
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,594
47 Systems integrator 17,155
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,099
49 Advanced Technology Equipment 16,933
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,897
10/07/2550 19:26 น. , อ่าน 1,926 ครั้ง
Bookmark and Share
อยากรู้ความหมาย
น้อง มิ้นท์....
10/07/2550
19:26 น.
คำว่า โอเวอร์ฮีท,เเละโอเวอร์โหลดในขดลวดมอเตอร์ <br>หมายถึงอะไร? เเละเกิดจากอะไรบ้างค่ะ
ความคิดเห็นทั้งหมด 12 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
กี้
11/07/2550
21:45 น.
โอเวอร์ฮีท คือเกิดภาวะความร้อนจัดเกินกว่าที่กำหนด<br><br>โอเวอร์โหลด คือเกิดภาวะการใช้งานเกินกำลัง<br><br>
ความคิดเห็นที่ 2
ช่างซ่อมมอเตอร์
12/07/2550
12:42 น.
ขอให้ความคิดเห็นอย่างนี้ครับ<br><br>โอเวอร์ฮีตของขดลวดก็คือ สภาวะทีความร้อนที่กระทำต่อขดลวดไฟฟ้าสูงเกินกว่าค่าความสามารถของฉนวนที่จะรับได้<br><br>ความร้อนที่กระทำต่อขดลวดเกิดจากอะไร สามารถแยกออกได้เป็น<br>1. เกิดจากการทำงาน ( I2R)<br>2. เกิดจากลอส ในตัวมอเตอร์ (คอร์ลอส )<br>3. อุณหภูมิรอบข้าง<br>4. สภาวะแรงดันไม่สมดุลย์<br>5. การระบายความร้อนของมอเตอร์<br>6. อื่นๆ <br><br>ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีองค์ประกอบมากมายหลายตัวที่มีโอกาสทำให้เกิดโอเวอร์ฮีตได้ แต่ที่คนส่วนใหญ่มักสนใจเพียงอย่างเดียวก็คือ กระแสทำงานของมอเตอร์ ซึ่งทำให้หลายๆครั้งมักจะมีคำถามว่าทำไมมอเตอร์ใช้งานไม่เกินค่าเนมเพลท แต่มอเตอร์เกิดโอเวอร์ฮีตได้<br><br>ส่วนโอเวอร์โหลด ก็คือการนำมอเตอร์ไปใช้งาน ในสภาวะเกินค่าพิกัดเนมเพลท ซึ่งจะมีผลทำให้เกิดการโอเวอร์ฮีตตามมา หรืออาจจะไม่เกิดถ้าเรามีการชดเชยบางอย่างเข้าไปเช่น การเพิ่มปริมาณลมที่ใช้ในการระบายความร้อน เมื่อมีการใช้งานในสภาวะเกินพิกัดเนมเพลท
ความคิดเห็นที่ 3
น้อง มิ้นท์....
18/07/2550
17:13 น.
ขอบคุณมากนะค่ะสำหรับคำตอบ
ความคิดเห็นที่ 4
กี้
18/07/2550
21:32 น.
จาก คำตอบที่ 2 <br><br>อยากทราบว่า สภาวะแรงดันไม่สมดุลย์ สามารถทำให้เกิดความร้อนได้อย่างไหร่ครับ <br>
ความคิดเห็นที่ 5
ช่างซ่อมมอเตอร์
18/07/2550
21:55 น.
แรงดันแหล่งจ่ายที่ไม่สมดุลย์จะทำให้เกิด Negative Power Sequence มีทิศทางตรงข้ามกับ แรงบิดที่มอเตอร์ผลิตขึ้น และมีความถี่เป็น 2 เท่าของความถี่แหล่งจ่ายไฟ ความถี่ที่เพิ่มขึ้นเป็นพิเศษนี้จะทำให้เกิดความร้อนที่เกิดจากแกนเหล็กสูงเพิ่มมากขึ้นเป็นพิเศษ ( Core Loss ) เนื่องด้วย Core Loss มีความสัมพันธ์กับ ความถี่ของสนามแม่เหล็ก และยังจะมีความร้อนที่เกิดจากกระแสที่สูงเพิ่มขึ้น ( Copper Loss ) อันผลมาจาก การเอาชนะ Negative Torque <br><br>ด้วยเหตุนี้ สแตนดาร์ด Nema จึงกำหนดให้ค่าแรงดัน ไม่สมดุลย์ไม่ควรเกิน 1 เปอร์เซนต์ หรือ ถ้าต้องการใช้งานเกิน 1 เปอร์เซนต์ควรจะต้องมีแฟคเตอร์ส่วนลด เข้าไปคูณกับแรงม้าพิกัดของมอเตอร์ เพื่อกำหนดความสามารถในการขับโหลดของมอเตอร์ซึ่งเป็นผลมาจากการใช้งานมอเตอร์ในสภาวะแรงดันไม่สมดุลย์
ความคิดเห็นที่ 6
ky
21/07/2550
21:27 น.
เเรงดันที่บริษัท จะต่างกันประมาณ 4 โวล์ท เป็นไฟ 380 โวท์ล unbalance กันขนาดนี้จะมีผลหรือปล่าวครับ
ความคิดเห็นที่ 7
ช่างซ่อมมอเตอร์
26/07/2550
20:42 น.
รายละเอียดไม่ได้บอกมาว่า แต่ละเฟสมีค่าเท่าไหร่ แต่พอจะมีสูตรให้ลองไปคำนวณดู ตามข้อมูลที่มีอยู่ดังนี้<br><br>%unbalance Volt = ความแตกต่างสูงสุด/ ด้วยแรงดันค่าเฉลี่ย x 100<br><br>% ความร้อนที่เพิ่มขึ้น = 2 x ( % unbalance Volt )2<br><br>ยกตัวอย่างเช่น แรงดันที่วัดได้ 370 , 378 , 387<br>จะได้แรงดันค่าเฉลี่ย = (370+378+387)/3 = 378<br>ค่าแตกต่างสูงสุด = 387-378= 9<br>% Unbalance Volt = 9/378x100 = 2.38 %<br>% ความร้อนที่มีผลจากการเกิด Unbalance Voltage = 2 x (2.38)2 = 11.32 %<br><br>มอเตอร์โดยปกติมี Temp Rise class B มีค่าอุณหภูมิสูงขึ้นเนื่องจากการใช้งาน 80 องศา ฉะนั้น เมื่อมีการเกิด unbalance Voltage จะมีความร้อนสูงเพิ่มขึ้น 80 x 11.32/100 = 9.056 องศา<br>
ความคิดเห็นที่ 8
น้อง มิ้นท์....
29/07/2550
13:27 น.
ช่างซ่อมมอเตอร์..สุดยอด...เลยขอบคุณอีกครั้งนะคะ
ความคิดเห็นที่ 9
k.p.
30/07/2550
16:27 น.
ขณะที่มอเตอร์กำลังหมุนทำงานอยู่เเละเกิดสภาวะการโอเวอร์ฮีทขึ้น(ซึ่งอาจจะเกิดจากเหตุผลของคำตอบที่1เเละที่2หรืออาจจะมาจากเหตุผลที่นอกเหนือจากนีก็ได้ครับ) ในขดลวดของมอเตอร์ เเต่ยังไม่ถึงกับโอเวอร์โหลดนะครับ สภาวะการโอเวอร์ฮีท นี้จะ มีผลกระทบกับเเบริ่ง(ลูกปืน)มากน้อยขนาดใหน ?ครับ ซึ่งจะมีใช้อยู่ทั่วไปในมอเตอร์เเทบทุกประเภท อยากขอคำเเนะนำจากผู้เชี่ยวชาญทุกท่าน รวมถึงคุณ กี้ หรือ ช่างซ่อมมอเตอร์ด้วยครับ
ความคิดเห็นที่ 10
ช่างซ่อมมอเตอร์
01/08/2550
21:27 น.
ความร้อนเป็นปัจจัยเร่งตัวนึงที่ทำให้แบริ่งเกิดความเสียหายได้เร็ว หรือ ร่นระยะเวลาการเติมสารหล่อลื่นให้สั้นลง ฉะนั้นแน่นอนว่าเมื่อมีความร้อนเพิ่มขึ้นอย่างผิดปกติที่ตัวขดลวด ซึ่งต่อไปจะถ่ายเทไปที่สเตเตอร์ ย่อมจะส่งผ่านความร้อนไปหาแบริ่งอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และจะมีปัจจัยเกี่ยวกับโครงสร้างของมอเตอร์ เป็นเงื่อนไขในการส่งผ่านความร้อนไปให้แบริ่งมากน้อยเพียงใด เพียงแต่ว่าเมื่อเวลาเกิดโอเวอร์ฮีต ขดลวดมักจะเกิดความเสียหายจนเกิดการช๊อตเซอร์กิตขึ้นก่อน และชุดควบคุมตัดวงจรออกก่อนที่แบริ่งจะเกิดความเสียหายอย่างรุนแรง
ความคิดเห็นที่ 11
ปิ่น
21/08/2551
10:32 น.
สารประกอบในลวด
ความคิดเห็นที่ 12
TATOMU
30/10/2552
22:10 น.
ในการคำนวณแรงดัน Unbalance นะครับ สูตรที่เราใช้คำนวณ เราควรอ้างอิงจากมาตรฐานใดดีครับ ซึ้องเป็นวิธีที่ง่ายที่สุดอ่ะครับ
ความคิดเห็นทั้งหมด 12 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง:
22 November 2024
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD