29/05/2550 13:35 น. |
ได้ ดูและได้ อ่านกระทู้เรื่อง เครื่องCNC เรื่อง CAD/CAM/CAE มา ระดับนึง รู้สึกไม่เข้าใจและงงในคำถามหลายคนออกมาแบบเดียว กัน คือชอบขอดูเครื่องตัวอย่าง<br>ให้กัดงานให้ดูแล้ว บอกว่า เครื่องนี้กัดนิ่มกว่าเครื่องนั้น ผม อ่านแล้ว งง ครับ เพราะเจอแบบนี้แต่ในประเทศไทยเราโดยเฉพาะกับโรงงานที่กำลังคิดจะยกระดับ<br>มีเครื่องCNCใช้มี CAD/CAM ใช้ ที่งง เพราะ โดยหลักสากล เวลาเขาซื้อเครื่องCNCนั้น เขาจะดูที่เอกสาร ค่า ACCETANCE TESTING (TC39)ทั้งนั้นในต่างประเทศ<br>เรื่องการลองเครื่องให้ทำงาน จะทำหลังจาก ติดตั้งเสร็จ ต่อไฟเข้า เปิดเครื่องRUNให้ดู ไม่มีใคร เขาดู ที่ รอยMACHINEชิ้นงานแล้ว มาบอกว่า เครื่องนั้นออกมาผิวสวยกว่า<br>เครื่องนี้ นั่น เป็นวิธีการทำCAM และGEN-G-CODE และฝีมือของOPERATORหน้าเครื่องว่าเปิด SPEED AND FEEDเต็มตามที่ คนทำ CAMทำออกมามัน ไม่ใช่ตัววัดว่า<br>ดูเครื่องว่าเดินนิ่ม แล้ว เครื่องดี เลยงง กับ อุตสาหกรรม ไทย ว่าจริงๆแล้วซื้อเพราะรแค่อยากดูเครื่องว่ากัดนิ่ม ไม่สั่น หรือ ดูที่ ประสิทธิภาพเครื่องกันแน่น งงจริงๆ |
30/05/2550 15:22 น. |
หวัดดี คุณ tong <br><br>มันเป็นเรื่อง ปกติ ของประเทศ กำลังพัฒนา ที่ถูกปิดกั้น ทางความคิด และ ความรู้ หรือ เปล่า <br>เอกสารทางวิชาการ ที่ควรจะมีการเผยแพร่ ให้อ่านง่าย ก็ไม่ค่อยมี<br>บทแปล บางเรื่อง ใช้นักภาษาศาสตร์ ไม่ใช่ นักปฏิบัติ <br>การหา ความรู้ เพื่อต่อยอด ไม่อยากทำ เพราะกลัว ตกงาน <br>และ อื่นๆ อีก มาก ในสังคม <br><br>คงต้อง ปล่อยให้เป็น ไปกระมัง เพราะไม่ต้องการโทษใคร <br><br>เอาเป็นว่า นัดกิน กาแฟ กันดีกว่า ( เปลี่ยนเบอร์โทรหรือเปล่า) |
31/05/2550 01:03 น. |
เดี๋ยวโทรไปหา |
31/05/2550 15:53 น. |
จะนัด เจอ กะ คุณ สืบ ใคร สนใจ ไปด้วย กัน ยกมือ ด้วย |
01/06/2550 10:23 น. |
เชิญ วันที่ 24 ที่ไบเทค ตอนบ่ายดีก่า <br>เดี๋ยว คนน้อย <br><br>ไปดู นวตกรรม ใหม่ของ การสร้างใส้แม่พิมพ์ฉีด หรือ ชิ้นงาน <br>โดยไม่ต้อง อาศัยเครื่องกลึง กัด EDM ทำได้ไง ? อิ อิ <br>( น่าจะรู้อยู่แล้ว นิ เอาเป็นว่า กลัวเหงา ในวันนั้น แหละ ) |
05/06/2550 00:52 น. |
ผมคิดว่าเขาไม่รู้เรื่องเครื่องจักร ดีพอผมเองก็ไม่รู้เรื่อง <br>ACCETANCE TESTING (TC39)เลย ลองหาจาก google แล้ว ยังไม่ชัดเจน ถ้า คุณสืบหรือคุณ tong กรุณาช่วยอธิบายเป็นวิทยาทาน นิดนึงครับ เขาทำอย่างไร |
05/06/2550 07:44 น. |
เออมันคือไรครับเจ้าACCETANCE TESTING (TC39)อยากรู้เหมือนกันเวลาซื้อเครื่องจะขอเค้าดูบ้าง แล้วดูเจ้าตัวนี้สามารถตัดสินได้เลยใช่เปล่าว่าเครื่องนั้นดีใช่หรือไม่ |
05/06/2550 12:07 น. |
หาก พูดถึงเครื่องมือวัด หลายคน อาจรู้หรือ เข้าใจความแตกต่าง ระหว่าง Precision กับ Accuracy และ Tollerance (ค่าพิกัดความเผื่อ ) <br>หรือ แม้แต่ใน Drawing ที่ถูกต้อง จำเป็นต้องกำหนด ค่าเผื่อต่างๆ ไว้ เช่น พิกัดความตรง พิกัดการเจาะรู พิกัดความฉาก และอื่นๆ อีกมากมาย <br><br>เครื่องจักร ก็เป็นสิ่งที่ต้องสร้างตามมาตรฐาน เช่นกัน ซึ่ง TC-39 ก็เป็นมาตรฐาน ที่กำหนดให้กับการสร้างเครื่องจักร ซึ่งต้องมีการวัดและตรวจสอบ ค่าต่างๆของเครื่อง ตามข้อกำหนดในการสร้าง ซึ่งคำถามคือ พวกคุณๆ ท่านๆ ทั้งหลาย เคยเห็น หรือ เคยขอใบนี้จากผู้สร้างเครื่องหรือ เปล่า <br>(ส่วนตัว เคยเห็น และ เคยตรวจรับเครื่องในต่างประเทศ ก่อนส่งมาไทย แล้วครับ ) <br><br>สรุปให้เข้าใจง่ายๆ คือ <br>เวลาที่มีคนมาจ้างคุณผลิตของ หรือ ชิ้นส่วนใดๆ เขาจะมี Drawing ที่กำหนดมาให้ และ ท่านทั้งหลาย ส่วนใหญ่ต้องทำ ใบ Inspection Data แนบของเวลาส่ง <br><br>เครื่องจักร ก็ เป็นเหมือนของชิ้นหนึ่งเช่นกัน แต่เวลาซื้อ ไม่เห็นมีถามถึงกันเลย ทั้งๆ ที่ขอได้ และเป็นสิทธของผู้ซื้อ <br>ดังนั้น เมื่อเครื่องมาถึง จึงไม่รู้ว่า เครื่องนั้น ตรงตามมาตรฐานสากล ที่กำหนดสำหรับ การสร้างเครื่องจักร หรือไม่ <br><br>( มาตรฐานส่วนใหญ่ ไม่สามารถ ค้นหาเนื้อความเต็มๆ ได้จาก เน็ต เพราะเป็นเอกสารสำคัญ และ เขาพิมพ์ไว้ขาย แต่จะมีข้อมูลคร่าว เช่น รหัส และชื่อของข้อกำหนด ตามรหัสนั้น ซึ่งหาได้จ๊ะ ) <br><br>อ้าว คุณ tong ว่าไง ใกล้เคียงความหมายไหม ? <br> |
07/06/2550 21:14 น. |
ถ้าเอาเครื่องจักรเก่า มา retrofit เราจะทำทดสอบค่าพวกนี้อย่างไรละ และใครละ จะเป็นผู้ตรวจสอบ และ จะทำอย่างไรดี |
16/06/2550 00:43 น. |
เข้ามาอ่านนานแล้ว ละแต่ยังไม่ได้ ตอบเพระมึนเอาทีละเรื่องตอบคุณพสิษฐ ก่อนคำตอบต้องแบ่งอย่างนี้ครับสำหรับเครื่องCNCนั้นแบ่งเป็น 2 ส่วนคือทางด้านระบบเครื่องกล กับ ระบบไฟฟ้า ผมพยายามจะอธิบายให้ง่ายที่สุดนะ ถ้าในระบบเครื่องกลตัวนี้ละครับชี้ขาดกันเลยละส่วนระบบไฟฟ้าก็จะมีการtestของส่วนไฟฟ้านั้นอีกชุดนึง okนะ มาคุณ petchในเรื่องนี้ที่ว่าใครจะทดสอบนะในประเทศไทยนะเวลานี้มีคนที่เข้าใจและรู้เรื่องนี้ไม่เกิน5คนครับ 1คนอยู่ทัพบก 1คน1อยู่ทัพเรือ 1คน 1คน เป็นอาจารย์อยู่ในมหาลัยแห่งนึง อีกหนึ่งคือผมเอง อีกหนึ่งนั้นขณะนี้ได้ถูกบริษัทสร้างเครื่องจักรของพม่าให้ไปวางระบบนี้อยู่ ซึ่งบางครั้งก็มาหาผมบ้างเวลาเขากลับเมืองไทย 5คนนี้ ไม่เกี่ยวกับที่ โรงงานต่างๆจ้างผมไปสอนนะ ครับคนละแบบกันเพราะฉะนั้นบุคลกรที่จะทดสอบค่าประเถทนี้ได้เมืองไทยมีเท่านี้ละครับตอนนี้เอกชน ก็จะมีผมคนเดียวละ ครับokนะครับ ต่อที่ว่าทำไมหาในnet แล้วไม่เจอเพราะว่าเรื่องนี้เป็นหัวใจที่สำคัญมากสำหรับกลุ่มหรือประเทศที่ต้องการผลิตเครื่องจักรขายเขาเก็บเป็นความลับครับไม่มีเอกสารที่จะอยู่ในnet หรือส่งมาทางemail ในเรื่องนี้เขาทำและส่งเป็นhardcopyอย่างเดียวครับ ทุกครั้งที่ผมได้ อ่านฉับบที่จะมีการยกร่างใหม่เขาก็ส่งมาเป็นพัสดุไปษณีครับ เลยหากันไม่มี น่ะครับด้วยเหตุฉะนี้ คราวหน้ามีเรื่องมาบ่นใหม่นะ |
17/06/2550 04:26 น. |
ส่ง mail มาให้คนไม่รู้อ่านบ้างก็น่า เป็นประโยชน์ ผมได้นำมาเป็นหลักยึดบ้าง จะได้คุยกันเป็นภาษาเดียวกัน จะได้มีคนไทยมีคนรู้มากขึ้น จะได้ไม่มีแค่ 5 คน wไม่งั้นเดียวเมืองไทยล้าหลังพม่า แย่ตาย โ พงเลย ยิ่งตอนนี้ คนไทยชอบทะเละกันเอง อยู่ <br> <a href="mailto:petchmail10@yahoo.com" Target="_BLANK">petchmail10@yahoo.com</a> <br> ผมขอขอบคุณล่วงหน้าแล้วกัน <br> |
17/06/2550 20:39 น. |
คุณpetch เข้าใจง่ายไปกระมั่งครับ ถ้าง่ายขนาดนั้นทางพม่าคงไม่ต้องจ้างคนไทยไปวางระบบให้ แล้วทาง ทบ กับ ทร เองคงไม่ต้องส่งคนไปเรียนโดยตรงมั้งครับ ถ้าแค่อ่านเอกสารแล้วเข้าใจ สั่ง ของISO ของDIN หรือ ของJISมาแล้วอ่านตามนั้น มันจบ ที่ทำงานเก่าผมคงไม่ต้องเสียตังเยอะขนาด ส่งผมไปเรียนโดยตรงกลับมาหรอกครับคุณ |
18/06/2550 17:49 น. |
แล้ว เราจะทำเพื่อประเทศชาติอย่างไรดีครับ ในเมื่อมีคนรู้ แต่ถูกจำกัดจำนวน น่าเสียดายจัง<br> ไม่เปงไร (คนไม่มีโอ ก า ศ) |
18/06/2550 18:00 น. |
ถามคุณสืบ เครื่องมือสอง ที่ซื้อมาจากญี่ปุ่นนะ สามารถขอเอกสาร มาตรฐาน TC-39 อะไรนั่นนะได้หรือเปล่า และ คู่มือที่ติดมากับเครื่อง(มีติดมาบ้าง บางครั้ง)ประกอบไปด้วย แบบไฟฟ้า จุดติดตั้งอุปกรณ์ ชือ่อุปกรณ์ คู่มือการใช้เครื่อง ตัวเลฃรหัสที่เกียงข้องกับการทำงานของเครื่อง แบบวงจร ladder PLC เกี่ยวข้องกับ มาตรฐาน TC-39 อะไรนั่นหรือเปล่า <br> จากคนชอบถาม |
19/06/2550 13:18 น. |
แสดงว่า คุณ petch ไม่เข้าใจความแตกต่างระหว่าง เอกสารระบบมาตรฐาน กับ ใบ Inspection เอกสารผลการตรวจสอบ <br><br>มาตรฐาน เป็น ข้อกำหนด <br>เอกสารบันทึกการตรวจสอบ เป็น ผลของการปฏิบัติ ซึ่งต้องมี การบรรญัติ วิธีการปฎิบัติ และวิธีการบันทึกตรวจสอบ นั่นหมายความว่า หากเราไม่เข้าใจ มาตรฐาน ก็ไม่สามารถสร้างวิธีการตรวจสอบ และบันทึกได้ <br><br>เหมือนกับ การทำให้บริษัท โรงงาน ได้รับการรับรอง มาตรฐาน ISO-9000 หรือ อื่นๆ นั่นแหละ <br><br><br> |
22/06/2550 01:47 น. |
ก็ไม่รู้นี่ครับ บริษัทยังไม่มี ISO ต้องรอผลงานเป็นที่ยอมรับก่อน (ไม่รู้เมื่อไรเหมือนกัน) แต่ตอนนี้ก็พอนึกกระบวนการออกและ |