Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,607
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,809
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 174,187
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 174,104
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,545
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,619
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,577
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,949
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 162,125
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,413
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,338
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,537
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 69,021
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,773
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,835
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,627
17 Industrial Provision co., ltd 40,714
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,347
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,312
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,629
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,535
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,856
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,287
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 32,106
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,535
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,547
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,917
28 AVERA CO., LTD. 23,638
29 เลิศบุศย์ 22,624
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,407
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,291
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,975
33 แมชชีนเทค 20,902
34 มากิโน (ประเทศไทย) 20,145
35 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 20,100
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,893
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,528
38 SAMWHA THAILAND 19,418
39 วอยก้า จำกัด 19,157
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,611
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,433
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,335
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,315
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,285
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 18,163
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 18,140
47 Systems integrator 17,714
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,680
49 Advanced Technology Equipment 17,518
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,469
05/11/2553 22:46 น. , โดย : Admin , อ่าน 44,566 ครั้ง
หม้อแปลงแรงดันไฟฟ้า

 

 

 

 

   หม้อแปลงแรงดันไฟฟ้า (Potential Transformer : PT)

 


        

               
หม้อแปลงแรงดันไฟฟ้า หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบกับเครื่องวัดแรงดันไฟฟ้า (V) , วัดกำลังไฟฟ้า (P) หรือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า (PF) เมื่อแรงดันไฟฟ้าที่ต้องการวัดนั้น มีค่าสูงกว่าพิสัย (Rang) ของเครื่องวัด ที่สามารถวัดค่าได้และให้ความปลอดภัยต่อกิจกรรมการวัดแรงไฟฟ้า ซึ่งหม้อแปลงแรงดันไฟฟ้า จะมีอัตราส่วนของหม้อแปลง (Transformer Ratio : av ) ที่แน่นอนและมีการรั่วไหลของเส้นแรงแม่เหล็กน้อยมาก แรงดันไฟฟ้าด้านด้านทุติยภูมิ ส่วนมากจะกำหนดไว้ไม่เกิน 100 V และมีขนาดกำลังตั้งแต่ 5 – 300 VA

 

 

        โครงสร้างและการทำงาน
                หม้อแปลงแรงดันไฟฟ้าจะมีโครงสร้างที่เหมือนกันกับหม้อแปลงไฟฟ้าโดยทั่วไป   โดยประกอบด้วยขดลวดปฐมภูมิ (Primary Winding) และขดลวดทุติยภูมิ (Secondary Winding) พันอยู่รอบแกนเหล็ก (Core Or laminate ) วงจรฟลักซ์แม่เหล็กปิดเดียวกัน ดังรูป

 

 

        การกำหนดขั้ว ของหม้อแปลงแรงดันไฟฟ้า ด้านปฐมภูมิจะกำหนดขั้วเป็น ตัวอักษร U , V (ตัวพิมพ์ใหญ่) ส่วนทางด้านทุติยภูมิจะกำหนดขั้วเป็น u , v (ตัวพิมพ์เล็ก) ตามลำดับ 

       การทำงานของหม้อแปลงแรงดันไฟฟ้า   จะมีหลักการคล้าย ๆ กับ หลักการทำงานของหม้อแปลงไฟฟ้าโดยทั่วไปกล่าวคือ จะอาศัยหลักการเหนี่ยวนำของขดลวดทั้งสองที่พันอยู่บนแกนเหล็กเดียวกัน   โดยจะแปลงแรงดันสูง ทางด้านขดลวดปฐมภูมิ ให้มีพิกัดแรงดันต่ำลงที่ทางด้านทุติยภูมิ   เพื่อให้เหมาะสมกับพิสัย (Rang) ของโวลต์มิเตอร์ และเพื่อเกิดความปลอดภัยต่อผู้ใช้งาน อีกด้วย

 

  Av      =     Potential Transformer Ratio
  E1     =     แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำที่ขดลวดปฐมภูมิ (Volt)
  E2     =     แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำที่ขดลวดทุติยภูมิ (Volt)
  V1     =     แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ขั้วของขดลวดปฐมภูมิ (Volt)
  V2     =     แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ขั้วของขดลวดทุติยภูมิ (Volt)
  N1    =     จำนวนรอบของขดลวดทุติยภูมิ (Volt)
  N2    =     จำนวนรอบของขดลวดทุติยภูมิ (Volt)

 

            การต่อใช้งาน
        มาตรฐาน ในการกำหนดตัวอักษร แสดงขั้วของหม้อแปลงแรงเคลื่อนไฟฟ้า ขดลวดปฐมภูมิใช้อักษร  U และ V และขดลวดทุติยภูมิใช้อักษร u  และ  v   ตามลำดับ    พิกัดแรงเคลื่อนไฟฟ้า ( Rated Voltage) ของขดลวดทุติยภูมิ ตามมาตรฐานจะกำหนดไว้ที่ 100 V 
        ในการใช้หม้อแปลงแรงเคลื่อนไฟฟ้านั้น    จะต้องไม่ให้ภาระไฟฟ้าทางด้านทุติยภูมิสูงจนเกินไป (ค่าสูญเสียภายในของโวลต์มิเตอร์ ) จะได้ค่าความถูกต้องในการใช้งาน    ตามพิกัดของหม้อแปลงแรงเคลื่อนไฟฟ้าตามที่กำหนด ภาระไฟฟ้าของหม้อแปลงแรงเคลื่อนไฟฟ้านี้   จะเรียกว่าเบอร์เดน (Burden) ค่าเบอร์เดนนี้ควรจะอยู่ในช่วงระหว่าง 30 VA ถึง 300 VA ซึ่งจะระบุไว้ที่ป้ายชื่อ (Name plate)



 

         ข้อควรระวังในการต่อใช้งาน 
         1). การต่อใช้งานในระบบ 1 เฟส จะต้องต่อให้ถูกขั้ว
         2). การต่อใช้งานในระบบ 3 เฟส จะต้องต่อให้ถูกขั้ว และเรียงลำดับเฟสให้ถูกต้อง 
         3). การเลือกใช้สายตัวนำ ต่อเข้ากับเครื่องมือวัด จะต้องคำนวณและเลือกใช้ให้เหมาะสม โดยคำนวณจากค่าพิกัดกำลังของ หม้อแปลงแรงดันไฟฟ้า ด้วย

 


นายเอ็นจิเนียร์ขอสงวนสิทธิ์รับรองความถูกต้อง โปรดใช้วิจารณญาณในการรับข่าวสารข้อมูล

 

 

1 July 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD