Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 176,798
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,171
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,457
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,453
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,913
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,029
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,006
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,295
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,146
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,818
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,773
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,973
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,318
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,816
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,160
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,053
17 Industrial Provision co., ltd 39,850
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,798
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,713
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,041
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,974
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,322
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,741
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,469
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,975
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,969
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,347
28 AVERA CO., LTD. 23,102
29 เลิศบุศย์ 22,062
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,820
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,714
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,327
33 แมชชีนเทค 20,316
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,576
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,545
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,286
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,963
38 SAMWHA THAILAND 18,740
39 วอยก้า จำกัด 18,406
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,978
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,824
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,759
43 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,725
44 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,670
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,602
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,595
47 Systems integrator 17,156
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,101
49 Advanced Technology Equipment 16,934
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,898
14/10/2552 08:53 น. , อ่าน 9,705 ครั้ง
Bookmark and Share
ASI bus system
โดย : Admin

โดย:    สุวัฒน์   ธเนศมณีกุล   

 

  ปัจจุบันเทคโนโลยีด้านระบบบัส ถือว่าเป็นเรื่องที่ไกล้ตัวมาก มีเครื่องจักรอัตโนมัติจำนวนไม่น้อย
 ขณะนี้ที่ใช้ระบบเทคโนโลยี ASI-BUS  ดังนั้นจึงได้เรียบเรียงขึ้นเพื่อเป็นพื้นฐานสำหรับทุกท่านที่ทำงาน 
 ในภาคอุตสากหกรรม และเป็นแนวทางเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับบุคคลที่จะก้าวเข้าสู่ระบบอุตสาหกรรม

 

 

             ASI ถูกเริ่มต้นพัฒนาในปี ค.ศ. 1993 โดยบริษัทจากประเทศเยอรมัน และสวิซเซอร์แลนด์ 11 บริษัทร่วมกันจัดตั้ง “สมาคม ASI” (ASI consortium) และได้รับการสนับสนุนด้านเงินทุนจากกระทรวงวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศเยอรมัน (BMBF) เทคโนโลยี ASI เป็นมาตราฐาน IEC 947 ซึ่งมีสมาชิกมากกว่า 80 องค์กรในทวีปยุโรป อเมริกาเหนือ และประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมีสินค้า ASI มากว่า 200 ชนิด จากผู้ผลิตมากว่า 30 บริษัท ASI ย่อมาจากคำว่า Actuator Sensor Interface เป็นระบบที่เชื่อมต่ออุปกรณ์ทำงาน (Actuator) และเซนเซอร์ (Sensor) เข้ากับคอลโทรลเลอร์อย่างเช่น PLC (Programmable logic control) , NC (Numerical controller) , RC (Robot controllers) หรือ PC (Personal computers) โดยจุดประสงค์เพื่อมาแก้ปัญหาเรื่องการติดตั้งแบบเก่า (Traditional cable tree) ซึ่งจะใช้สายไฟฟ้าเพียงแค่ 2 เส้นเท่านั้น (ดังแสดงตามรูป) ซึ่งสามารถป้อนสัญญาณควบคุม (Signal) และพลังงานไฟฟ้า (Power) ในเวลาเดียวกันทำให้สามารถลดจำนวนสายไฟได้มากซึ่งประหยัดทั้งต้นทุนของสายไฟและงานติดตั้งรวมถึงช่วยให้การดูแล และซ่อมบำรุงระบบเป็นไปได้ง่ายอีกด้วย

 


Actuator Sensor Interface (ASI)

              หัวใจสำคัญของระบบ ASI ก็คือ Slave-chip (ASIC : Application Specific Integrated Circuit) ที่จะทำหน้าที่เป็นตัวกลางเพื่อติดต่อสื่อสารระหว่าง Actuator / Sensor กับ Controller เปรียบเสมือนกับว่า slave-chip เป็นป้ายบ้านเลขที่เพื่อให้ controller ติดต่อ Actuator / Sensor ได้ถูกต้อง ซึ่ง salve-chip จะมี 2 แบบคือ



1) External ASI slave-chip slave - chip จะฝังอยู่ในโมดูลตัวหนึ่งซึ่งโมดูลนี้จะทำหน้าที่เป็นตัวกลางเพื่อให้ Actuator และ Sensor ที่เป็นระบบเก่า (Conventional) ให้สามารถคุยกับคอลโทรลเลอร์ได้ (ตามรูป)
2)  Integrated ASI slave – chip , slave – chip จะฝังอยู่ใน Actuator และ Sensor ซึ่งหมายความว่าอุปกรณ์ดังกล่าวสามารถคุยกับคอลโทรลเลอร์ได้โดยตรง (ตามรูป) ซึ่งทำให้บทบาทของ Actrator และ sensor เปลี่ยนไปจากแบบเก่า (Conventional) ที่เคยใช้กันอุปกรณ์สามารถสื่อสารข้อมูลได้สองทิศทางคือ ข้อมูลสามารถถูกส่งจากคอลโทรลเลอร์ไปยังอุปกรณ์ต่อพ่วง (Peripheral) ได้ และข้อมูลยังสามารถส่งจากอุปกรณ์ต่อพ่วงไปยังคอลโทรลเลอร์ได้อีกด้วยนั้นหมายถึงว่า เซนเซอร์จะเปลี่ยนบทบาทจากที่เคยเป็นอุปกรณ์ที่ส่งข้อมูลไปยังคอลโทรลเลอร์อย่างเดียวมาเป็นเซนเซอร์ที่สามารถ รับคำสั่งให้ทำงานจากคอลโทรลเลอร์ได้อีกด้วย




โครงสร้างระบบ Actuator sensor Interface


              ซึ่งเราจะเรียกว่าเป็น Intelligent sensor และเช่นเดียวกันสำหรับ Actuator จะเปลี่ยนบทบาทจากที่เคยแต่รับคำสั่งจากคอลโทรลเลอร์อย่างเดียวมาเป็น Actuator ที่สามารถตรวจสอบตัวเองได้และรายงานผลไปยังคอลโทรลเลอร์ได้อีกด้วย ซึ่งเราจะเรียกว่า Intelligent Actuator


ตัวอย่างเครื่องจักร Pick and Place


โครงสร้างเครื่องจักรแบบ เก่า ( Conventional System )

โครงสร้างเครื่องจักรโดยใช้ระบบ ASI bus system




ตัวอย่าง ตู้ควบคุมไฟฟ้าแสดงปริมาณสายไฟของระบบเก่าและระบบ ASI

========================================================

 

 

 

23 November 2024
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD