ลดปัญหางานเขียนแบบไฟฟ้าด้วยPCschematicElautomation
โดย: เมธี เท่าเขียว
mathee@zybermail.com
ในปัจจุปันงานเขียนแบบไฟฟ้ามีความจำเป็นต้อง มีการทำเอกสารทางประกอบแบบวงจรอาทิ เช่น การเข้าสายไฟ(Terminal List) รายการอุปกรณ์ที่ใช้ (Component list) เป็นต้น เนื่องด้วยหลายๆท่านอาจจะใช้โปรแกรม CAD ทั่วๆไปที่ไม่สนับสนุนการเขียนแบบไฟฟ้าทำให้มีความยุ่งยากและปัญหาการทำเอกสารทางประกอบแบบวงจรวันนี้จึงขอแนะนำโปรแกรม CAD ตัวหนึ่งที่มีชื่อว่า "PCschematicElautomation " และขอแนะนำบางฟังชั่นมาให้รู้จัก
ครั้งแรกที่ได้เห็นหน้าตาโปรแกรม PCschematicElautomation อาจจะดูเหมือนโปรแกรมCAD โดยทั่วๆไปแต่ด้วยความที่ดูธรรมดานี้ได้ซ่อนฟั่งชั่นต่างๆไว้มากมาย อาทิเช่น
•
|
Parts lists and connection lists are updated automatically and can be exported to e.g. Excel |
•
|
Connecting electrical lines are moved with the symbols |
• |
Supports electro-technical standards (IEC/EN) |
• |
References between symbols are updated on-line |
• |
Places and updates wire numbers automatically |
• |
Handles reference designations intelligently on project, page, area and symbol level |
• |
Generates graphical cable and terminal plans automatically |
• |
Communicates with PLC I/O tools (Export/Import) and editing of PLC data via e.g. Excel |
• |
Copies areas intelligently |
•
|
Signal references between pages |
• |
Router draws connection lines automatically |
• |
Copies in and between projects easily |
• |
Automatic generation of diagram pages |
• |
Templates for pages and electro-technical projects |
รูปที่1 ฟังชั่นบางส่วนทีโปรแกรมสามารถสร้างเองแบบอัตโนมัติ
หนึ่งในหลายๆความคิดสำหรับการออกแบบโปรแกรมคือการทำให้ผู้ใช้คุ้นเคยกับโครงสร้างของตัวโปรแกรมทั้งนี้ครอบคลุมการทำเอกสารประกอบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องของโครงงาน(Project)
On-line updated reference
ในโครงสร้างของโปรแกรมจะมีฟั่งชั่นหนึ่งคือ ออนไลด์ ซึ่งก็จะมีอยู่หลายชนิดเอาไว้สำหรับการอ้างอิงระหว่างตัวสัญลักษณ์กับสัญลักษณ์ที่มีชื่อเดียวกันที่อยู่ในหน้าเดียวกันหรือว่าอาจจะต่างหน้ากัน หรือเมือคุณวางคอนเทคเตอร์ ก็จะมี Reference crossอยู่ด้านล่าง ให้แบบอัติโนมัติซึ่งจะระบุการใช้งานของหน้าคอนเทคแต่ละชนิดว่าอยู่หน้าใหน คอลัมที่เท่าไหร่ ซึ่งในแต่ละครั้งนั้นการอัพเดทจะเปลี่ยนไปตามหน้าว่าถูกย้าย ลบ หรือเพิ่มเข้ามา
Standard project
เมื่อได้สร้างเอกสารต่างๆเช่น คำนำ สารบัญ รายการอุปกรณ์ต่างๆ ฯ คุณสามารถที่จะเก้บรูปแบบของงานที่ได้สร้างไว้ และในครั้งต่อไปต้องการาที่จะนำรูปแบบเดิมมาใช้ได้และคุณสามารถที่จะเลือกว่าแบบไหนที่คุณต้องการใช้ในนั้น
รูปที่ 2 เอกสารประกอบแบบวงจรที่อัพเดทอัตโนมัติ
|
Project information
ในแบบคุณสามารถที่จะใส่รายละเอียดต่างๆที่เกี่ยวกับลูกค้า แบบที่เขียนคือวงจรอะไร ผู้ออกแบบ ฯ ซึ่งรายละเอียดต่างๆนี้จะให้คุณได้กรอกตอนเริ่มเขียนแบบครั้งแรก และเมื่อต้องการที่จะเปลี่ยนข้อมูลบางอย่างสามารถที่จะเปลี่ยนได้ตลอดเวลาและอัพเดทให้อัติโนมัติเมื่อคุณสร้างเอกสารประกอบแบบด้วย โปรแกรม PCschematicElautomation คุณอาจจะใช้รูปแบบจาก Project ก่อนหน้านั้นและสามารถออกแบบตารางลิทในแบบของคุณเองโดยอาจจะเพิ่มโลโก้ หรือข้อมูลอื่นๆที่ต้องการ |
Component Vendor database
ผู้ผลิตหลายๆสัญชาติได้สร้างฐานข้อมูลเพื่อ PCschematic Elautomation โดยเฉพาะ ถ้าคุณกำลังใช้งานดาต้าเบสตัวอื่นๆกับข้อมูลของอุปกรณ์ต่างๆอยู่ มั่นใจได้อย่างแน่นอนว่าคุณสามารถที่จะนำมาใช้กับโปรแกรมPCschematic ได้ เพราะโปรแกรมนี้สามารถที่จะใช้ฐานข้อมูลที่สนันสนุน ODBC, MDAC, BDE
รูปที่ 3 ผู้ผลิตหลายๆรายได้จัดทำฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการกำหนดสเปคของสัญลักษณ์
IEC Standards
เป็นมารฐานจากทางยุโรปที่คนไทยเราคุ้นเคยกันอยู่ ซึ่งในตัวโปรแกรมจะมีสัญลักษณ์เก็บตามหมวดหมู่อ้างอิง IEC/EN 60617 และ ฟั่งชั่น reference designations IEC/EN61346
ประสบการณ์ที่สะสมมากกว่า20 ปี
โปรแกรมได้พัฒนาโดย DpsCAD-center ที่มีมานานกว่า20ปีเป็นเครื่องการันตีได้ว่าโปรแกรมได้ถูกพัฒนาตั้งแต่สมัยที่ยังใช้ระบบปฏิบัติการดอส (OS DOS) ซึ่งจากระบบปฏิการดอสนี้เองทำให้เป็นพื้นฐานในการพัฒนาโปรแกรมในระบบปฏิบัติการWindow
|
All Lists Automatically
เมื่อคุณวางสัญญลักษณ์ลงในแบบและใส่รายละเอียดของอุปกรณ์ผ่านทางฐานข้อมูล ของโปรแกรมจะทำโปรแกรมสามารถที่จะดึงข้อมูลมาอัพเดทของทุกลิสได้ ไม่ว่าจะเป็น |
► list |
► Component list |
► Cable list |
► Terminal list |
► Connection listPLC list |
|
ทุกๆลิสที่ปรากฏไม่จำเป็นต้องสร้างใหม่อีกครั้งเมื่อกลับมาทำงานอีกครั้ง และลิสยังสามารถที่จะนำออกไปยังโปรแกรม Excel หรือ ไฟล์นามสกุล .txt |
Fetching symbol directly from the database
ระหว่างที่เขียนแบบอยู่นั้นเราสามารถที่จะนำเอาสํญลักษณ์จากSymbol library มาวางไว้ที่จอที่นี้เรายังสามารถที่จะดึงเอาฐานข้อมูลมาให้สัญญลักษณ์โดยตรงโดยการคลิกที่สัญญลักษณ์ เมื่อคุณเลือก ส่วนประกอบของสัญญลักษณ์ในฐานข้อมูลเราก็จะได้รับสํญลักษณ์แบบอัตโนมัติที่ครบทุกแบบ เช่น เมื่อคุณคลิกที่ สัญลักษณ์ คอนเทค NO และเราเลือกให้เป็นคอนเทคเตอร์ หลังจากนั้นเราก็จะได้สัญลักษณ์ตัวอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็น คอร์ยรีเลย์ หน้าสัมผัสอันอื่นๆ
Project information
ตารางข้อมูลในแต่ละหน้านั้นเราสามารถที่จะติมรายละเอียดต่างๆของแบบไม่ว่าจะเป็นรายละเอียดของลูกค้าผู้เขียนแบบซึ่งเวลาที่เราต้องการที่จะเปลี่ยนรายละเอียดเราแค่เปลี่ยนตรงที่ Function data page เท่านั้น และข้อมูลต่างๆที่เรากรอกไว้ก็จะอัพเดทโดยอัตโนมัติ ข้อมูลต่างๆนั้นสามารถที่จะแยกข้อมูลในหน้าอื่นๆได้
ได้อธิบายฟังชั่นการทำงานของโปรแกรมไปบางส่วนไปบ้างแล้วอาจยังไม่ระเอียดเนื้อหายังไม่เข้มข้นก็ต้องขออภัยผู้อ่านด้วยครับเพราะเป็นคนที่เขียนบทความไม่เก่งแต่อยากจะแนะนำโปรแกรมดีๆสักตัวให้วิศวกรหรือผู้สนใจได้รู้จักกันครับ เอาไว้วันหลังเชี่ยวชาญทางงานเขียนอีกหน่อยคงจะส่งบทความและเนื้อหาการใช้งานโปรแกรมมาบอกกล่าวกันอีกทีครับ
สำหรับผู้ที่สนใจติดต่อได้ที่ บ.ทีไอเอ ไทยอินดัสตรี้ ออโตเมชั่นครับ โทร 02-9338954 ติดต่อ คุณเมธี เท่าเขียวครับ เรามีเดโมแจกฟรีครับ (แต่ตัวเดโมจะยอมให้เรา เซฟงานได้ไม่เกิน 40 สัญลักษณ์)
|