Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,422
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,668
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 174,010
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,948
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,410
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,459
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,450
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,809
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,891
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,307
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,196
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,410
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,873
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,628
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,656
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,491
17 Industrial Provision co., ltd 40,573
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,212
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,161
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,481
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,395
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,732
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,159
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,962
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,384
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,402
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,788
28 AVERA CO., LTD. 23,510
29 เลิศบุศย์ 22,489
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,269
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,131
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,825
33 แมชชีนเทค 20,757
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,977
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,974
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,749
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,390
38 SAMWHA THAILAND 19,263
39 วอยก้า จำกัด 19,008
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,465
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,282
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,191
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,158
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,152
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 18,031
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 18,016
47 Systems integrator 17,575
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,552
49 Advanced Technology Equipment 17,363
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,344
27/10/2565 06:58 น. , อ่าน 6,840 ครั้ง
Bookmark and Share
what is PWM ?
โดย : Admin

สุชิน  เสือช้อย


PWM หรือ Pulse Width Modulation  คืออะไร ?


PWM หรือ Pulse Width  Modulation   คือการแปลงแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงไปเป็นไฟฟ้ากระแสตรงวิธีหนึ่ง หรือเรียกว่า DC to DC converter  (ดีซี ทู ดีซี คอนเวอเตอร์)  ซึ่งเป็นการแปลงแรงดันไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงที่มีค่าคงที่ (อินพุท) ให้มีการเปลี่ยนแปลงระดับได้   โดยที่ระดับแรงดันทางทางด้านเอาท์พุทจะมีค่าตั้งแต่มากกว่าศูนย์โวลท์จนกระทั้งถึงระดับของแรงดันอินพุท


การทำงาน

วิธีการแปลงไฟฟ้าระดับแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงทางด้านเอาท์พุทนี้ จะทำงานโดยใช้อุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์กำลัง (power electronics)  เช่น มอสเฟต (Mosfet)  ทรานซิสเตอร์ (Transitor) หรือ ไอจีบีที (IGBT)  ทำหน้าที่เป็นตัวอุปกรณ์ตัดต่อสัญญาณหรือทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์สวิทซิ่ง ( Switching)    โดยใช้วิธีการควบคุมให้อุปกรณ์เหล่านั้นให้ที่ทำหน้าที่เป็นสวิตซ์ทำงานเป็นช่วงๆ หรือ on-off  เป็นช่วงๆ เป็นคาบเวลา ด้วยความถี่คงที่ 
 

 
ส่วนแรงดันเฉลี่ยทางด้านเอาท์พุทจะมีค่ามากหรือน้อย  ก็จะขึ้นอยู่กับช่วงเวลาที่อุปกรณ์สวิทซิ่งหรือขึ้นอยู่กับช่วงเวลาที่มีการ ออน(ON) ของอุปกรณ์ตัดต่อวงจร   เช่น ถ้ามีการออน (on) หรือต่อวงจรนาน  ความกว้างของสัญญาณเอาท์พุทซึ่งมีลักษณะเป็นรูปพัลส์ก็จะกว้างขึ้นและก็จะส่งผลทำให้ค่าเฉลี่ยทางด้านเอาท์พุทมีค่าสูงขึ้นตาม    แต่ในทางกลับกันถ้ามีการออนหรือต่อวงจรในช่วงสั้นๆ ความกว้างของพัลส์ทางด้านเอาท์พุทก็จะแคบและก็จะส่งผลทำให้ค่าเฉลี่ยทางด้านเอาท์พุทมีค่าน้อยลง

และด้วยเหตุผลดังที่กล่าว  ก็เลยทำเทคนิคการแปลงไฟฟ้ากระแสตรงนี้มีชื่อเรียกว่า PWM  หรือ Pulse Width Modulation  ซึ่งก็หมายถึง การมอดูเลชั่นด้วยวิธีการกำหนดความกว้างของสัญญาณพัลส์ทางด้านเอาท์พุตนั้นเอง ( pulse width = ความกว้างของสัญญาณพัลส์)

*** การทำงานแบบนี้บางครั้งก็ถูกเรียกว่า pulse-duration modulation (PDM)

ส่วนช่วงเวลาที่อุปกรณ์สวิทซิ่งต่อวงจรจ่ายกระแสไฟฟ้า หรือ ช่วงออน (on) นั้นจะถูกเรียกว่า ดิวตี้ไซเคิล (Duty Cycly)  และจะคิดคำนวนออกมาเป็นเปอร์เซ็นต์ดังนี้
 

ดิวตี้ไซเคิล (Duty Cycly %)   =  ช่วงเวลาช่วงที่อุปกรณ์ต่อวงจร (Ton) / คาบเวลา ( Time Period ( Ton + Toff) )

Ton =  ช่วงเวลาช่วงที่อุปกรณ์ต่อวงจร
Toff =  ช่วงเวลาที่ อุปกรณ์เปิดวงจร หรือ ตัดวงจร
*** การทำงานจะคล้ายกับการปิด-เปิดสวิตซ์เป็นช่วงๆ ด้วยช่วงเวลาที่คงที่   ....  ส่วนความถี่จะเริ่มต้น โดยทั่วไปจะออกแบบมาให้เหมาะสมกับอุปกรณ์หรือโหลดที่จะนำไปใช้งาน  และส่วนใหญ่จะมีค่าคงที่ โดยทั่วไปจะไม่สามารถปรับได้




ส่วนแรงดันเฉลี่ยทางด้านเอาท์พุท ก็สามารถคำนวนได้ดังนี้

แรงดันขาออกหรือแรงดันทางด้านเอาท์พุท  (Vo) =  %ดิวตี้ไซเคิล (Duty Cycly) x ขนาดของแรงดันอินพุท


 

 

 
ตัวอย่างของอุปกรณ์เพาเวอร์อิเลคทรอนิกส์ที่นิยมนำมาใช้งานในวงจร PWM




ตัวอย่างวงจร PWM

 
คลิปเรื่อง PWM

 



ตัวอย่างอุปกรณ์สำเร็จรูป PWM   ซึ่งนยิมใช้มากในงาน ควบคุมความเร็วดีซีมอเตอร์แบบแม่เหล็กถาวร  ซึ่งเป็นควบคุมระดับแรงดันที่จ่ายให้กับอาร์เมเจอร์  ( แรงดันที่จ่ายเข้าไปที่อาร์เมเจอร์มาก มอเตอร์ก็จะวิ่งเร็ว ถ้าจ่ายน้อยมอเตอร์ก็จะวิ่งช้าลง    ความเร็วแปรผันตามระดับแรงดัน)

 

========================================================

 

 

 

14 May 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD