Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 176,791
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,164
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,452
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,449
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,907
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,023
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,999
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,287
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,136
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,814
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,767
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,967
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,308
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,811
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,154
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,047
17 Industrial Provision co., ltd 39,844
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,794
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,707
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,034
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,968
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,315
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,731
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,460
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,971
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,961
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,340
28 AVERA CO., LTD. 23,098
29 เลิศบุศย์ 22,057
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,815
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,708
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,324
33 แมชชีนเทค 20,310
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,570
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,538
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,280
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,956
38 SAMWHA THAILAND 18,735
39 วอยก้า จำกัด 18,401
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,974
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,818
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,751
43 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,721
44 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,666
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,593
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,589
47 Systems integrator 17,150
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,094
49 Advanced Technology Equipment 16,928
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,893
13/08/2555 10:29 น. , อ่าน 19,571 ครั้ง
Bookmark and Share
คำถามยอดฮิต เกี่ยวกับการใช้แผงโซล่าเซลล์
โดย : Admin

ที่มา: www.prigpiroot.com

 

 

 

1.  อยากติดโซล่าร์เซลที่บ้าน เพื่อลดค่าไฟฟ้าจะคุ้มหรือไม่?

    	ตอบ   กรณีถ้าบ้านท่านมีไฟฟ้าเข้าถึงแล้ว ทางเราขอแนะนำว่ายังไม่ควรติดตั้งครับ
	เนื่องจากราคาแผงโซล่าร์เซลและอุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆยังแพงอยู่มากเมื่อเทียบกับซื้อไฟฟ้าจากการไฟฟ้า
 อีกทั้งต้องมีค่าใช้จ่ายเรื่องเปลี่ยนแบตเตอรี่อีก 2-3 ปีต่อครั้งด้วยครับ ซึ่งหากเครื่องใช้ไฟฟ้ามีหลายชนิด
 และต้องการชั่วโมงใช้งานของเครื่องใช้ไฟฟ้ายิ่งเยอะด้วยแล้ว ระบบก็ต้องใหญ่ตามไปด้วย นั่นหมายถึงว่า
 ค่าใช้จ่ายต่างๆก็จะเพิ่มขึ้นด้วยครับ


......................................................................................................................................
 
 2.  ที่บ้านไฟฟ้าเข้าไม่ถึง ถ้าต้องการติดตั้งจะเหมาะหรือไม่ มีค่าใช้จ่ายเท่าใด ?
    	ตอบ เหมาะสมที่สุดครับสำหรับพื้นที่ที่แสงอาทิตย์ส่องถึง โดยการคำนวณต้องทราบข้อมูลต่อไปนี้ก่อนครับ   
 	1. รวบรวมรายการอุปกรณ์ทั้งหมดที่จะใช้ไฟฟ้า เช่น มี
		ทีวี1เครื่อง(ขนาดเท่าไหร่ไม่ทราบสมมุติ 100W.) ต้องการใช้วันละ  6 ชั่วโมง
				= 100 x 6 = 600
		หลอดประหยัด(ขนาดเท่าไหร่ไม่ทราบสมมุติ 15W.) ต้องการใช้วันละ  8 ชั่วโมง มี 5 หลอด
				=15 x 8 x 5 = 600
		รวมแล้ววันนึงใช้ไฟฟ้า = 600 + 600 = 1200 W  
  หลังจากทราบค่ากำลังไฟฟ้ารวมที่ต้องการต่อวันแล้ว จึงจะสามารถคำนวณค่าใช้จ่ายได้ครับ

2. หากยังไม่มีไอเดียว่าจะใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าอะไรบ้าง อาจจะแจ้งงบประมาณคร่าวๆที่ท่านคิดไว้ว่าจะ
	ใช้ในการติดตั้งระบบไฟฟ้าโซล่าร์ให้แก่เรา เช่น 3,000...10,000...50,000...300,000 ฯลฯ
	เราจะแนะนำได้ว่าบนงบนี้น่าจะใช้ทำอะไรได้บ้าง
.............................................................................................................................................
   3.  โซล่าร์เซลใช้กับอะไรได้บ้าง? ใช้กับแอร์ได้มั้ย? ปั้มน้ำ? 
    	ตอบ   ใช้ได้ทุกอย่างครับ แม้แต่สร้างโรงไฟฟ้าระบบพลังงานแสงอาทิตย์ก็ยังมีที่แม่ฮ่องสอน ปัญหาคืองบครับ
	ทุกอย่างขึ้นกับงบประมาณเท่านั้น อย่าลืมว่าถ้าท่านใช้ไฟเยอะท่านก็ต้องติดเยอะ ลงทุนเยอะ 
	สิ่งที่ต้องคิดที่สุดคือถ้าไฟฟ้าเข้าไม่ถึง เราควรมองหาอุปกรณ์ประหยัดไฟไว้ก่อน เช่น หลอดไฟก็ใช้
	แบบหลอดตะเกียบ หรือเป็นไปได้ LED จะยิ่งประหยัด  สำหรับแอร์คงต้องลงทุนสูงมากครับ และข้อสำคัญอีกประการ 
 คือ เมื่อต้องใช้พลังงานทดแทนแล้วควรมากที่จะเปลี่ยนเป็นพฤติกรรมทดแทนด้วย เช่น ก่อนเคยซักผ้าด้วยเครื่อง 
 ก็เปลี่ยนมาเป็นซักด้วยมือ หรือ การหุงข้าวก็เปลี่ยนมาเป็นหุงด้วยฟืนแทน จะเป็นการลดค่าใช้จ่ายได้อย่างมหาศาล
.............................................................................................................................................
4.  ต้องการนำไปใช้ต่อกับเครื่องสูบน้ำเข้าไร่ น้ำบาดาล ปะปาหมู่บ้าน
   ตอบ   ในอดีตปั้มน้ำเกือบทุกชนิด จะมีช่วงการสตาร์ทมอเตอร์ซึ่งจะกินกระแสสูงมาก ดังนั้นอุปกรณ์โซล่าเซลล์
	จะต้องมีเครื่องแปลงไฟที่มีขนาดใหญ่มากรวมทุกอุปกรณ์แล้วราคาจะสูงมาก 
  แต่ปัจจุบันมีการผลิตปั๊มน้ำกระแสตรง (dc pump)หรือ โซลาร์ปั๊ม เพื่อให้ใช้ได้กับระบบไฟฟ้า
  พลังงานแสงอาทิตย์โดยเฉพาะ จึงไม่ต้องใช้เครื่องแปลงไฟฟ้าดังกล่าว ทำให้ราคาระบบ
  สูบน้ำพลังงานแสงอาทิตย์ถูกลงเป็นอย่างมาก  
.............................................................................................................................................
5.   ปั๊มน้ำสูบน้ำได้นานแค่ใหน
       ตอบ  สูบได้เท่าที่จะมีกระแสไฟให้มันทำงานครับ(กระแสไฟในแบตเตอรี่)              
       เปรียบเสมือนรถยนต์ถ้ามีน้ำมันรถก็วิ่งไปได้เรื่อยครับ
........................................................................................................................
6.  หากติดตั้งระบบสูบน้ำพลังงานแสงจะสามารถใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นร่วมด้วยได้หรือไม่
      ตอบ   ได้ครับ เพราะกระแสไฟฟ้าที่เราต้องการใช้ถูกเก็บใว้ในแบตเตอรี่เรียบร้อยแล้ว เราสามารถใช้ Inverter
    มาแปลงไฟจากแบตเตอรี่เป็นไฟบ้านเท่านั้นเองครับ
........................................................................................................................
7. ปั๊มน้ำส่งน้ำได้ไกลแค่ใหน
      ตอบ  ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของปั๊มตัวนั้นๆครับ หากสูบระยะทางแนวดิ่งมาก ระยะทางแนวราบก็จะส่งได้ไกลลดลง
       บางครั้งเราสามารถลดขนาดท่อลงเพื่อให้ส่งได้ระยะทางที่ไกลขึ้นครับ
..........................................................................................................................

 

========================================================

 

 

 

21 November 2024
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD