Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,688
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,874
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 174,255
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 174,160
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,590
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,673
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,617
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,997
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 162,249
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,457
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,385
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,577
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 69,078
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,823
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,883
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,673
17 Industrial Provision co., ltd 40,766
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,420
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,367
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,678
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,575
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,895
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,327
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 32,163
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,576
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,589
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,956
28 AVERA CO., LTD. 23,678
29 เลิศบุศย์ 22,664
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,443
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,328
32 Electronics Source Co.,Ltd. 21,024
33 แมชชีนเทค 20,945
34 มากิโน (ประเทศไทย) 20,192
35 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 20,134
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,940
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,565
38 SAMWHA THAILAND 19,466
39 วอยก้า จำกัด 19,217
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,665
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,475
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,372
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,367
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,331
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 18,204
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 18,179
47 Systems integrator 17,758
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,721
49 Advanced Technology Equipment 17,559
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,516
30/09/2553 19:11 น. , อ่าน 14,072 ครั้ง
Bookmark and Share
ที่มาของ จอ LCD
โดย : Admin

 

          ในปี ค.ศ.1888 นายฟรายด์ริช ไีรนิตเซอร์ (Friedrich Reinitzer) เป็นนักพฤษศาสตร์ ชาวออสเตรีย ขณะที่เขาศึกษาสารไขมันจากพืชชั่วข้ามคืนเท่านั้น เขาพบสารชนิดหนึุ่่งที่มีลักษณะคล้ายโคเลสเตอรอลอยู่ในสภาวะละลายเป็นของเหลวในภาวะที่มีความร้อน พอเย็นตัวลงก็กลายเป็นสารสีขุ่น และเมื่อเย็นลงอีกก็กลายเป็นสีใส พอเย็นตัวถึงจุดหนึ่งกลับเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงินและตกผลึก ซึ่งเป็นผลึกเหลว นำมาใช้สร้างจอแอลซีดี หน้าปัดนาฬิกาข้อมือแบบดิจิตอล หน้าจอเครื่องคิดเลข หน้าจอเครื่องแฟกซ์ จอคอมพิวเตอร์ จอทีวีที่ติดตั้งในรถยนต์ หน้าจอโทรศัพท์มือถือ และแม้แต่จอทีวีขนาดใหญ่ตัวจอเหล่านี้มีคุณสมบัติในการทำงานที่อาศัยการเบี่ยงเบนของแสงสามารถปรับหรือขยับให้แสงเข้าหนาปัดหน้าจอได้มากน้อยตามต้องการ





ผู้ที่นำการค้นพบผลึกเหลวมาพัฒนาขยายผลก็คือนายจอร์จ ฮิลเมียร์ (George Heilmeier) ในปี ค.ศ.1963 เริ่มใช้กับหน้าปัดนาฬิกาเป็นครั้งแรก ต่อมาในปี ค.ศ.1969 นายเจมส์ เฟอร์กาสัน (James Fergason) ได้นำหน้าปัดแอลซีดีมาพัฒนาให้ทันสมัยยิ่งขึ้น และขยายผลในการใช้สู่จอต่าง ๆ ใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลกในทุกวันนี้



 

 

========================================================

 

 

 

19 July 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD