Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 176,798
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,171
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,457
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,453
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,913
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,029
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,006
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,295
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,146
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,818
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,773
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,973
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,318
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,816
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,160
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,053
17 Industrial Provision co., ltd 39,850
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,798
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,713
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,041
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,974
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,322
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,741
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,469
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,975
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,969
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,347
28 AVERA CO., LTD. 23,102
29 เลิศบุศย์ 22,062
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,820
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,714
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,327
33 แมชชีนเทค 20,316
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,576
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,545
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,286
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,963
38 SAMWHA THAILAND 18,740
39 วอยก้า จำกัด 18,406
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,978
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,824
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,759
43 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,725
44 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,670
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,602
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,595
47 Systems integrator 17,156
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,101
49 Advanced Technology Equipment 16,934
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,898
08/09/2552 21:02 น. , อ่าน 17,226 ครั้ง
Bookmark and Share
ทำความรู้จักกับดรัมมอเตอร์ (Drum motor)
โดย : Admin

เรียบเรียงโดย: สุชิน นายเอ็นจิเนียร์


 

 ดรัม มอเตอร์ คืออะไร  

ดรัมมอเตอร์ (Drum Motor) คือมอเตอร์ที่มีรูปร่างหรือรูปทรงลักษณะคล้ายกลองหรือถัง (Drum) ซึ่งบางครั้งก็จะอ้างอิงถึงล้อข้บหรือพู่เล่ (Pulley)ที่มีใช้มอเตอร์ขับเคลื่อนอยู่ในตัว    โครงสร้างภายในถังจะประกอบด้วยมอเตอร์และเกียร์ทดรอบประกอบเข้าด้วยกันและหุ้มปิดผนึกด้วยเหล็ก อลูมิเนียม หรือ แสตนเลส ขึ้นอยู่กับการใช้งาน    ซึ่งหากพิจารณาจากรูปโฉมโนมพรรณจากภายนอกจะดูคล้ายกับถัง หรือกลอง ดังคำนิยาม   

 


 

 

 แนวคิด (Concept)

 ดรัมมอเตอร์ได้มีการบันทึกไว้ว่ามีจุดเริ่มต้นตั้งในปี ค.ศ. 1928    แต่ว่ายังไม่มีความชัดเจนในการใช้งาน   จนกระทั่งเวลาได้ผ่านมาถึงต้นปี ค.ศ. 1950  เมื่อมีการผลิตชิ้นแรกและนำออกมาใช้งานกับสายพานลำเลียง      สำหรับแนวคิดในการพัฒนาดรัมมอเตอร์ ก็เพื่อให้ได้เครื่องจักรที่มีขนาดกระทัดรัดและเล็กลง โดยได้รวมมอเตอร์และเกียร์ทดรอบผนึกเข้าไว้เป็นแพ็จเกจเดียวกัน เพื่อลดความสูญเสียเนื่องจากความฝึดให้น้อยลงกว่ามอเตอร์เกียร์ที่ใช้งานอยู่ทั่วไป และเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สูงขึ้น

 

 
การออกแบบขั้นพื้นฐาน (Basic Design)

ภายในดรัมจะประกอบด้วยมอเตอร์ที่ใช้ในการขับเคลื่อน  (ซึ่งอาจจะเป็นอะซิงโครนัน (Asynchronous) หรือ ซิงโครนัสมอเตอร์ (synchronous) หรือ ไฮดรอลิกส์มอเตอร์ (Hydraulic motor) อย่างใดอย่างหนึ่ง)   ต่อกับเพลาด้านที่อยู่กับที่ (stationary shaft) ที่ด้านหนึ่งของดรัม และต่อผ่านตรงไปทีโรเตอร์ซึ่งต่อแนวเดียวกับชุดเกียร์ซึ่งอาจจะเป็นเกียร์หรือเฟืองทดแบบ helical หรือ planetary   ซึ่งต่ออยู่กับเพลาที่อยู่กับที่ของอีกด้านหนึ่ง    ส่วนแรงบิดหรือทอร์คจะถูกโอนถ่ายจากมอเตอร์ผ่านทางชุดเกียร์ไปที่เปลือกของผ่านชุดเกียร์ด้านข้างที่ติดอยู่กับเปลือกถัง ดังรูปประกอบจะช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น



ระบบโอนถ่ายกำลัง (Transmission)

ระบบการส่งถ่ายกำลังจะใช้เกียร์แบบ  Helical หรือ planetary  ชนิด 2 หรือ 3 เสตท ซึ่งทำให้ได้รับการโอนถ่ายกำลังด้านขาออก(output power) ซึ่งผลิดจากมอเตอร์ ได้ถึง   95% 

 

มอเตอร์ไฟฟ้า (Electric Motor) 

สำหรับมอเตอร์ที่ใช้ก็มีทั้งแบบ เฟสเดียว หรือ สามเฟสอินดัคชั่นมอเตอร์แบบกรงกระรอก ที่ใช้ฉนวนป้องกันความร้อนคลาส F  ซึ่งเหมาะสมกับการป้องกันความร้อนสะสมจากภายใน       สำหรับมอเตอร์เฟสโดยทั่วไปสามารถสร้างแรงบิดขณะออกตัวหรือขณะสตาร์ทได้ถึง 200%   ซึ่งเพียงพอเมื่อเทียบกับมอเตอร์แบบเฟสเดียว และยังสามารถใช้งานควบคู่กับอินเวอร์เตอร์ ที่สามารถควบคุมความเร็วได้อีกด้วย

 

 สำหรับมอเตอร์แบบ ซิงโครนัส ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกว่าเมื่อเทียบกับอินดัคชั่นมอเตอร์   จะเป็นอะไรที่ค่อนข้างไหม่สำหรับประยุกต์ใช้งานในประเภทนี้ แต่ว่ามีจุดเด่นในด้านไดนามิคส์ที่สูงกว่า   มีอัตราเร่งที่ยอดเยียม และสามารถควบคุมความเร็วและแรงบิดได้ง่ายกว่า ทำให้เป็นที่นิยมในงานขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติในปัจจุบัน



ข้อดี

จุดเด่นของมอเตอร์ชนิดนี้มีหลายอย่างด้วยกัน เช่นติดตั้งง่าย   ลดการบำรุงรักษา การสูญเสียกำลังน้อยและให้ประสิทธิภาพทางกลสูงถึง 96%     ชิ้นส่วนต่างๆถูกปิดผลึกมิดชิดด้วยมาตรฐาน  IP66    จะไม่ได้รับผลกระทบจากฝุ่นละออง ความสกปรกจากจารบีหล่อลื่น    ความปลอดภัยสูงกว่าเนื่องจากไม่มีส่วนเคลื่อนทีภายนอก เช่น โซ่ เฟืองโซ่  เพลาขับ และอื่นๆ  นอกจากนั้นยังเงียบไม่ส่งเสียงรบกวน

 

 
 
 
 
 
 
 

 

========================================================

 

 

 

23 November 2024
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD