PCschematicElautomation
โดย : Admin

 

ลดปัญหางานเขียนแบบไฟฟ้าด้วยPCschematicElautomation

โดย:   เมธี เท่าเขียว     
mathee@zybermail.com 

 

 

      ในปัจจุปันงานเขียนแบบไฟฟ้ามีความจำเป็นต้อง มีการทำเอกสารทางประกอบแบบวงจรอาทิ เช่น การเข้าสายไฟ(Terminal List) รายการอุปกรณ์ที่ใช้ (Component list) เป็นต้น เนื่องด้วยหลายๆท่านอาจจะใช้โปรแกรม CAD ทั่วๆไปที่ไม่สนับสนุนการเขียนแบบไฟฟ้าทำให้มีความยุ่งยากและปัญหาการทำเอกสารทางประกอบแบบวงจรวันนี้จึงขอแนะนำโปรแกรม CAD ตัวหนึ่งที่มีชื่อว่า "PCschematicElautomation " และขอแนะนำบางฟังชั่นมาให้รู้จัก

       ครั้งแรกที่ได้เห็นหน้าตาโปรแกรม PCschematicElautomation อาจจะดูเหมือนโปรแกรมCAD โดยทั่วๆไปแต่ด้วยความที่ดูธรรมดานี้ได้ซ่อนฟั่งชั่นต่างๆไว้มากมาย อาทิเช่น

Parts lists and connection lists are updated automatically and can be exported to e.g. Excel

Connecting electrical lines are moved with the symbols
Supports electro-technical standards (IEC/EN)
References between symbols are updated on-line
Places and updates wire numbers automatically
Handles reference designations intelligently on project, page, area and symbol level
Generates graphical cable and terminal plans automatically
Communicates with PLC I/O tools (Export/Import) and editing of PLC data via e.g. Excel
Copies areas intelligently

Signal references between pages
Router draws connection lines automatically
Copies in and between projects easily
Automatic generation of diagram pages
Templates for pages and electro-technical projects



รูปที่1 ฟังชั่นบางส่วนทีโปรแกรมสามารถสร้างเองแบบอัตโนมัติ

 

หนึ่งในหลายๆความคิดสำหรับการออกแบบโปรแกรมคือการทำให้ผู้ใช้คุ้นเคยกับโครงสร้างของตัวโปรแกรมทั้งนี้ครอบคลุมการทำเอกสารประกอบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องของโครงงาน(Project)
 

   On-line updated reference
          ในโครงสร้างของโปรแกรมจะมีฟั่งชั่นหนึ่งคือ ออนไลด์ ซึ่งก็จะมีอยู่หลายชนิดเอาไว้สำหรับการอ้างอิงระหว่างตัวสัญลักษณ์กับสัญลักษณ์ที่มีชื่อเดียวกันที่อยู่ในหน้าเดียวกันหรือว่าอาจจะต่างหน้ากัน หรือเมือคุณวางคอนเทคเตอร์ ก็จะมี Reference crossอยู่ด้านล่าง ให้แบบอัติโนมัติซึ่งจะระบุการใช้งานของหน้าคอนเทคแต่ละชนิดว่าอยู่หน้าใหน คอลัมที่เท่าไหร่ ซึ่งในแต่ละครั้งนั้นการอัพเดทจะเปลี่ยนไปตามหน้าว่าถูกย้าย ลบ หรือเพิ่มเข้ามา
 

   Standard project
           เมื่อได้สร้างเอกสารต่างๆเช่น คำนำ สารบัญ รายการอุปกรณ์ต่างๆ ฯ คุณสามารถที่จะเก้บรูปแบบของงานที่ได้สร้างไว้ และในครั้งต่อไปต้องการาที่จะนำรูปแบบเดิมมาใช้ได้และคุณสามารถที่จะเลือกว่าแบบไหนที่คุณต้องการใช้ในนั้น
 


รูปที่ 2 เอกสารประกอบแบบวงจรที่อัพเดทอัตโนมัติ

  Project information

       ในแบบคุณสามารถที่จะใส่รายละเอียดต่างๆที่เกี่ยวกับลูกค้า แบบที่เขียนคือวงจรอะไร ผู้ออกแบบ ฯ ซึ่งรายละเอียดต่างๆนี้จะให้คุณได้กรอกตอนเริ่มเขียนแบบครั้งแรก และเมื่อต้องการที่จะเปลี่ยนข้อมูลบางอย่างสามารถที่จะเปลี่ยนได้ตลอดเวลาและอัพเดทให้อัติโนมัติเมื่อคุณสร้างเอกสารประกอบแบบด้วย โปรแกรม PCschematicElautomation คุณอาจจะใช้รูปแบบจาก Project ก่อนหน้านั้นและสามารถออกแบบตารางลิทในแบบของคุณเองโดยอาจจะเพิ่มโลโก้ หรือข้อมูลอื่นๆที่ต้องการ

    Component Vendor database
             ผู้ผลิตหลายๆสัญชาติได้สร้างฐานข้อมูลเพื่อ PCschematic Elautomation โดยเฉพาะ ถ้าคุณกำลังใช้งานดาต้าเบสตัวอื่นๆกับข้อมูลของอุปกรณ์ต่างๆอยู่ มั่นใจได้อย่างแน่นอนว่าคุณสามารถที่จะนำมาใช้กับโปรแกรมPCschematic ได้ เพราะโปรแกรมนี้สามารถที่จะใช้ฐานข้อมูลที่สนันสนุน ODBC, MDAC, BDE

 

 
รูปที่ 3 ผู้ผลิตหลายๆรายได้จัดทำฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการกำหนดสเปคของสัญลักษณ์

     
   IEC Standards
                  เป็นมารฐานจากทางยุโรปที่คนไทยเราคุ้นเคยกันอยู่ ซึ่งในตัวโปรแกรมจะมีสัญลักษณ์เก็บตามหมวดหมู่อ้างอิง IEC/EN 60617 และ ฟั่งชั่น reference designations IEC/EN61346 

ประสบการณ์ที่สะสมมากกว่า20 ปี  
       โปรแกรมได้พัฒนาโดย DpsCAD-center ที่มีมานานกว่า20ปีเป็นเครื่องการันตีได้ว่าโปรแกรมได้ถูกพัฒนาตั้งแต่สมัยที่ยังใช้ระบบปฏิบัติการดอส (OS DOS) ซึ่งจากระบบปฏิการดอสนี้เองทำให้เป็นพื้นฐานในการพัฒนาโปรแกรมในระบบปฏิบัติการWindow

     All Lists Automatically

 
เมื่อคุณวางสัญญลักษณ์ลงในแบบและใส่รายละเอียดของอุปกรณ์ผ่านทางฐานข้อมูล ของโปรแกรมจะทำโปรแกรมสามารถที่จะดึงข้อมูลมาอัพเดทของทุกลิสได้ ไม่ว่าจะเป็น
list
Component list
Cable list
Terminal list
Connection listPLC list
ทุกๆลิสที่ปรากฏไม่จำเป็นต้องสร้างใหม่อีกครั้งเมื่อกลับมาทำงานอีกครั้ง และลิสยังสามารถที่จะนำออกไปยังโปรแกรม Excel หรือ ไฟล์นามสกุล .txt

 

   Fetching symbol directly from the database
               ระหว่างที่เขียนแบบอยู่นั้นเราสามารถที่จะนำเอาสํญลักษณ์จากSymbol library มาวางไว้ที่จอที่นี้เรายังสามารถที่จะดึงเอาฐานข้อมูลมาให้สัญญลักษณ์โดยตรงโดยการคลิกที่สัญญลักษณ์ เมื่อคุณเลือก ส่วนประกอบของสัญญลักษณ์ในฐานข้อมูลเราก็จะได้รับสํญลักษณ์แบบอัตโนมัติที่ครบทุกแบบ เช่น เมื่อคุณคลิกที่ สัญลักษณ์ คอนเทค NO และเราเลือกให้เป็นคอนเทคเตอร์ หลังจากนั้นเราก็จะได้สัญลักษณ์ตัวอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็น คอร์ยรีเลย์ หน้าสัมผัสอันอื่นๆ 

    Project information
              ตารางข้อมูลในแต่ละหน้านั้นเราสามารถที่จะติมรายละเอียดต่างๆของแบบไม่ว่าจะเป็นรายละเอียดของลูกค้าผู้เขียนแบบซึ่งเวลาที่เราต้องการที่จะเปลี่ยนรายละเอียดเราแค่เปลี่ยนตรงที่ Function data page เท่านั้น และข้อมูลต่างๆที่เรากรอกไว้ก็จะอัพเดทโดยอัตโนมัติ ข้อมูลต่างๆนั้นสามารถที่จะแยกข้อมูลในหน้าอื่นๆได้          
                ได้อธิบายฟังชั่นการทำงานของโปรแกรมไปบางส่วนไปบ้างแล้วอาจยังไม่ระเอียดเนื้อหายังไม่เข้มข้นก็ต้องขออภัยผู้อ่านด้วยครับเพราะเป็นคนที่เขียนบทความไม่เก่งแต่อยากจะแนะนำโปรแกรมดีๆสักตัวให้วิศวกรหรือผู้สนใจได้รู้จักกันครับ เอาไว้วันหลังเชี่ยวชาญทางงานเขียนอีกหน่อยคงจะส่งบทความและเนื้อหาการใช้งานโปรแกรมมาบอกกล่าวกันอีกทีครับ 


            สำหรับผู้ที่สนใจติดต่อได้ที่ บ.ทีไอเอ ไทยอินดัสตรี้ ออโตเมชั่นครับ โทร  02-9338954  ติดต่อ คุณเมธี เท่าเขียวครับ เรามีเดโมแจกฟรีครับ  (แต่ตัวเดโมจะยอมให้เรา เซฟงานได้ไม่เกิน 40 สัญลักษณ์)  
 

 

 

เนื้อหาโดย: 9engineer.com (https://9engineer.com/)