Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 175,364
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,515
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 172,933
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,687
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,412
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,490
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,455
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,764
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,248
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,386
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,304
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,449
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,488
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,071
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,419
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,495
17 Industrial Provision co., ltd 39,160
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,319
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,239
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,566
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,383
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,799
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,155
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 30,902
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,520
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,459
27 P.D.S. Automation co.,ltd 22,888
28 AVERA CO., LTD. 22,534
29 เลิศบุศย์ 21,634
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,317
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,185
32 แมชชีนเทค 19,832
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,803
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,127
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,079
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,742
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,548
38 SAMWHA THAILAND 18,237
39 วอยก้า จำกัด 17,827
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,415
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,277
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,241
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,186
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,138
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,078
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,004
47 Systems integrator 16,655
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,575
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,397
50 Advanced Technology Equipment 16,381
03/04/2556 09:53 น. , อ่าน 7,312 ครั้ง
Bookmark and Share
การเขียน PLC.ระบบควบคุมลิฟต์
lynx
03/04/2556
09:53 น.
ขอแนะนำตามความรู้ที่อบรมระบบ Safety มาตรฐาน EN 81.1 และ EN 81.2 ที่เมืองมิลาน ประเทศอิตาลี ในกรณี ใช้การควบคุมด้วย ระบบไมโครโปรเซสเวอร์ ซึ่งระบบ PLC.ก็ถือว่าเป็น ไมโครโปรเซสเซอร์ เหมือนกัน ความหมายก็คือ การตัดของระบบ Safety line ให้ตัดทาง Output ห้ามตัดทาง Input เด็ดขาด ป้องกันกรณี Output ของไมโครโปรเซสเซอร์ช๊อทค้าง ฯ ครับ
การเขียน แบบ ladder ในPLC.ที่ใต้หวัน บรรทัดแรก ให้เริ่มที่ระบบ Safety lineก่อน ตามด้วย วงจรสลับชั้น (Direction) ต่อด้วยวงจรปุ่มกดเรียกลิฟต์ และวงจรเปิด-ปิดประตูลิฟต์ แล้วสุดท้ายก็วงจรหยุด-จอดของลิฟต์ สาเหตุที่ต้องเรียงขั้นตอนการเขียน ladder เนื่องจากว่า ตัว PLC. จะ Scan อ่านทีละบรรทัดเรียงไปเรื่อย หากการเขียนผิดขั้นตอน ลิฟต์จะมีปัญหาเกิดการ Error ของ PLC. ยกเว้นหากท่านมีความรู้การเขียน แบบ ฟังชั่น ก็ไม่จำเป็นต้องเรียงตามนี้ครับ โปรดจำไว้ว่าวงจรลิฟต์ มีความละเอียดอ่อนมาก เกี่ยวกับระบบความปลอดภัยของผู้ใช้ลิฟต์น๊ะครับ
ขอแชร์ด้วย อ.หลิน บริษัท KTSC จำกัด โทร.022156664
ความคิดเห็นทั้งหมด 1 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
withorn_saab
28/02/2560
23:49 น.
ระบบ safety จะเป็น Hard wiring เท่านั้นครับ PLC หรือ Mico ผมจะใช้
เป็นแค่ตัวช่วย หรือ​ตัวเสริม ครับ
ความคิดเห็นทั้งหมด 1 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง: