Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 175,978
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,576
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 172,986
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,767
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,461
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,548
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,506
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,816
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,343
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,445
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,357
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,507
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,583
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,127
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,513
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,554
17 Industrial Provision co., ltd 39,221
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,372
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,296
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,617
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,436
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,851
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,218
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 30,955
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,581
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,515
27 P.D.S. Automation co.,ltd 22,945
28 AVERA CO., LTD. 22,585
29 เลิศบุศย์ 21,681
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,379
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,244
32 แมชชีนเทค 19,891
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,868
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,183
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,135
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,797
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,601
38 SAMWHA THAILAND 18,291
39 วอยก้า จำกัด 17,896
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,474
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,324
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,299
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,236
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,205
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,130
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,065
47 Systems integrator 16,709
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,627
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,453
50 Advanced Technology Equipment 16,442
01/02/2556 13:07 น. , อ่าน 7,816 ครั้ง
Bookmark and Share
หม้อแปลง 1000 kva สองตัว N สามารถต่อร่วมกันได้หรือเปล่า
วิศวะใหม่
01/02/2556
13:07 น.
หม้อแปลง 1000 kva สองตัว N สามารถต่อร่วมกันได้หรือเปล่า
ความคิดเห็นทั้งหมด 6 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
11
03/02/2556
16:04 น.
ได้ครับตอบสั้นๆ
ความคิดเห็นที่ 2
acilis
03/02/2556
18:36 น.
ตอบว่าได้และไม่ได้ แล้วแต่จะทำ เอ เขียนมาได้งัยแบบนี้ ราวปี2550 ผมเห็นแบบไฟฟ้าของบริษัทรับเหมาก่อสร้างโรงงาน เป็นลักษณะกราวด์ถึงกันหมด ทั้งด้านแรงสูง แรงต่ำ นิวตรัลต่อกับกราวด์ลงดิน ลักษณะ โซลิดกราวด์ด้วย แต่เวลาทำเข้าจริง ไม่ทำตามแบบนั้น แยกกันทุกภาคส่วน
ไม่เป็นไร ต่อได้กรณี ที่มั่นใจว่าระบบกราวด์เราดี จริงๆ ดีจริงๆอย่างไร แม้ว่าหม้อแปลงแต่ละลูกจะมีระบบ3เฟส ไม่สมมาตรอย่างไร กราวด์เราสามารถทำให้นิวทรัลเป็นศูนย์ๆได้จริงๆ อันนี้ไม่มีปัญหาอะไร พ่อเจ้าพระคุณเอ๋ย ผมประสบพบเจอ ยังไม่เคยพบในไลน์การผลิตไหน นิวทรัลเป็นศูนย์จริงๆ อย่าไปเสี่ยงเอานิวทรัล ของสองหม้อแปลงมาต่อรวมกันเลยครับ ไม่อย่างนั้น โหลดที่เป็น1เฟสเราจะชำรุด ยกตัวอย่างเช่น แมกเนติค คอนเทคเตอร์ คอล์ย 220 โวลต์ เราคงต้องเตรียมไว้สักเข่ง เพราะใช้ๆไปควันจะขึ้นที่คอล์ย ไหม้ บวม ใช้งานไม่ได้
สรุป ทั้งได้และไม่ได้ ขึ้นอยู่ที่องค์ประกอบของระบบไฟฟ้า
ความคิดเห็นที่ 3
11
04/02/2556
22:31 น.
ทั้งได้และไม่ได้ ขึ้นอยู่ที่องค์ประกอบของระบบไฟฟ้าไช่เลยครับ ก็กลมๆดีครับ
แต่เท่าที่ผมเห็นมาน่ะครับ 2 TRANFORMER 1 TIE เขาก็ต่อ N หากกันได้
แต่ถ้าไม่ได้เพราะเหตุอะไรบ้างขอแบ่งปันความคิดเห็นเพื่อความรู้ด้วยครับ
ความคิดเห็นที่ 4
acilis
05/02/2556
16:14 น.
เฮอๆ คุณ11 หากมีคำถามใดๆ ในเวปนี้เปิดโอกาสให้ตั้งกระทู้ได้นี่ครับ ตั้งกระทู้ขึ้นใหม่ก็ได้
การแสดงความคิดเห็นเป็นมิติหนึ่งของผู้โฟสตอบ โดยอาศัยทฤษฎีเดียวกัน แต่ศิลปะในการตอบอาจแตกต่างกันไป นั่นคือการแสดงความคิดเห็น ผมมองว่าไม่มีใครผิด ไม่มีใครถูก เพราะไม่ใช่ผลสรุปหรือรายงานสรุปของเหตุการณ์นั้นๆ
เอาล่ะนะ ในประเทศไทย ผมฟันธงเลยครับ ไม่ควรต่อเป็นอย่างยิ่ง การต่อสามารถทำได้เช่น ด้านแรงต่ำ ต้องต่อกราวด์กับนิวตรัลของหม้อแปลงเข้าด้วยกันและลงดิน เลือกเอาว่าจะเหมาะสมตรงไหน ระหว่างที่ตู้MDB หรือที่จุดติดตั้งหม้อแปลง กราวด์แรงสูงก็เช่นกัน ลงดินเหมือนกัน บางครั้งก็ต่อกราวด์แรงสูงกับแรงต่ำถึงกัน บางครั้งก็ไม่ต่อถึงกัน บางครั้งกราวด์กับนิวทรัล ของหม้อแปลงหลายลูก วางเรียงกัน ต่อลงดินแบบโซลิดกราวด์ตัวใครตัวมัน แล้วก็จั๊มถึงกันหมดก็มี ถ้าเราเชื่อมั่นว่า ความต้านทานของระบบกราวด์ น้อยกว่า 5 โอห์มอยุ่ตลอดเวลา ก็ไม่มีปัญหาประการใด แต่ผมไม่เชื่อหรอกครับ ไม่อย่างนั้นจะต้องติดตั้งกราวด์เทสบ๊อกขึ้นมาเพื่อสิ่งใด ใช่ครับเพื่อทดสอบตรวจวัดกราวด์ในระบบครับงัยครับ เมื่อมีบริษัทประกันมาตรวจสอบเพื่อทำประกันภัย เขาก็จะเรียกดูสิ่งเหล่านี้ แม้แต่ตรวจสอบอาคาร กรมโรงงานเข้ามา ลูกค้ามาออดิท เขาขอดูเอกสารครับ อย่างน้อยสุดปีนึง ตรวจวัดทำรายงานไว้สักครั้งก็ยังดี พอระบบไฟฟ้าเข้าโรงงานแล้ว ไม่ควรอย่างยิ่ง ที่จะใช้นิวตรัล สลับกับหม้อแปลงลูกอื่นๆ (ถ้าเราคิดว่า นิวทรัลถึงกัน เลือกเส้นไหนก็ได้) เพราะโหลดของหม้อแปลงไม่เท่ากัน เมื่อเฟสไม่บาลานซ์
ความคิดเห็นที่ 5
Std
26/05/2556
05:12 น.
According to US Specification
* Two Transformers+Coupling with neutral used a circuit conductor
* Thw Two transformer must have a coomon ground. But the connection of each thransformer t a separate grounding electrode.
N ต่อถึงกันได้ แต่แยก Ground rod
ความคิดเห็นที่ 6
ผ่านมา
27/05/2556
03:04 น.
หม้อแปลง 10ลูก ให้เก้าลูกคือลูกที่1-10โหลดไม่ Balanceจึงมีกระแสไหลที่นิวตรอลทั้งเก้าลูก มากน้อยแตกต่างกันไป
ส่วนลูกที่ 1 ดีหน่อยกระแส Balance หรือเปล่าไม่ทราบ
วัดแรงดันที่ L-N ของหม้อแปลงลูกที่ 1 ได้ 220 V
แต่ถัาวัดแรงดันที่ N ของแต่ละลูกเทียบกับ L ของหม้อแปลงแต่ละลูกเช่นกันค่าจะเท่ากันหรือไม่(แรงดันโหลด Balance ต่างกัน)
เมื่อนำ N ของทั้งหมดมาต่อถีงกัน
แล้ววัดแรงดันที่ L-N ของหม้อแปลงลูกที่หนึ่งใหม่จะได้แรงดันเท่าไหร่?
ทังหมดนี้สามารถไปวัดดูได้ในทางปฏิบัติ
วิธืการวัด
มีหม้อแปลง 2 ลูก Tie หากัน N ต่อถึงกัน
ให้วัด N เทียบกับ L ของแต่ละหม้อแปลงดูว่าแรงดันเท่ากันหรือไม่ วัดเทียบทั้งสามเฟสเลยนะ จะได้รู้จริงๆไม่ต้องนึกทึกทักกันเอาเอง
เมื่อทราบผลแล้วก็คิดดูว่าถ้านำ อุปกรณ์ 1 เฟสต่อเข้าไปที่หม้อแปลงลูกใดลูกหนึ่งแล้วจะมีผลกระทบระหว่างกันหรือไม่ พิจารณาจากผลที่วัดได้




ความคิดเห็นทั้งหมด 6 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง: