Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 175,988
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,581
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 172,991
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,785
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,466
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,553
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,511
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,818
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,354
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,450
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,362
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,513
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,590
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,132
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,523
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,555
17 Industrial Provision co., ltd 39,225
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,377
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,298
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,624
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,446
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,853
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,221
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 30,960
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,584
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,517
27 P.D.S. Automation co.,ltd 22,952
28 AVERA CO., LTD. 22,587
29 เลิศบุศย์ 21,685
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,385
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,247
32 แมชชีนเทค 19,893
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,870
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,186
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,140
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,800
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,603
38 SAMWHA THAILAND 18,293
39 วอยก้า จำกัด 17,902
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,480
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,331
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,304
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,241
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,216
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,135
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,070
47 Systems integrator 16,713
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,631
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,456
50 Advanced Technology Equipment 16,444
18/07/2555 18:14 น. , อ่าน 8,391 ครั้ง
Bookmark and Share
สุพรรณบุรีก็มีน้ำมัน นะจ๊ะ
โดย : Admin

ที่มา: www.oknation.net/blog

 

ไปทำงานภาคสนามมา

เที่ยวบ่อน้ำมัน  กับ  โรงงานไฟฟ้าชีวมวล  ที่  จังหวัดสุพรรณบุรี   

           เริ่มที่แหล่งน้ำมันดิบสังฆจาย  หรือ ปตท. สผ.เรียกที่นี่ว่า  โครงการพีทีทีอีพี 1    [   PTT  EP1] 

มี 4 แหล่ง (ไซด์) ปิโตรเลียม (11 หลุม) ในพื้นที่โครงการ 10 ตารางกิโลเมตร ทั้งที่ตั้งอยู่ในเขต อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม และเขต อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี อีก 3 แหล่ง คือ อู่ทอง 17 และอู่ทอง 13 ซึ่งอยู่ห่างกันประมาณ 500 เมตร และแหล่งสังฆจายซึ่งอยู่ห่างออกไปอีก 4 กิโลเมตร  
 
          แม้ว่าอาจจะได้น้ำมันดิบปริมาณไม่มาก แต่เมื่อมีการใช้เครื่องมือหรือโครงสร้างพื้นฐานที่มีอยู่แล้วก็ทำให้โครงการนี้คุ้มค่าการผลิตได้ด้วยฝีมือคนไทย 100 % 
 
        
            เราเห็นเครื่องโยก ที่เราอาจจะคุ้นตาในภาพยนตร์ต่างประเทศ ชาวอเมริกันเรียกกันว่า "ดองกี้ปั๊ม " เครื่องโยกหัวม้าจะ  ช่วย   สร้างแรงดันใต้พื้นดินเพื่อใช้ดันน้ำมันดิบ    เพราะลักษณะทางธรณีวิทยาทำให้น้ำมันดิบที่นี่ไม่มีแรงดันสูงเหมือนกับในสหรัฐหรือตะวันออกกลาง ที่สามารถดันตัวเองขึ้นมาบนผิวดินได้
 
 
        
                  ปตท.สผ เจาะหลุมน้ำมันดิบที่ความลึกประมาณ 1,200-1,300 เมตร เมื่อขุดไปจะมีก๊าซธรรมชาติปะปนขึ้นมาด้วยจึงต้องมีการใส่อุปกรณ์กักก๊าซ (ก๊าซบลอต)    เพื่อมาใช้ในการต้มน้ำ  เพื่อเพิ่มอุณหภูมิน้ำมันเมื่อขึ้นพ้นหลุมอุณหภูมิปกติอยู่ที่ 42-45 องศาเซลเซียส แต่เนื่องจากน้ำมันที่นี่จะมีแวคปนอยู่มาก ต้องมีการอุ่นไปที่อุณหภูมิ 67-75 องศาเซลเซียล เพื่อทำให้น้ำแยกตัวจากน้ำมันดียิ่งขึ้น   แต่ละวัน PTT ED1  ผลิตน้ำมันดิบได้ 350 บาร์เรลและน้ำ 850 บาร์เรลต่อวัน      การใช้ก๊าซมาอุ่นน้ำมันแบบนี้ทำให้ที่นี่ประหยัดค่าไฟฟ้าได้ถึงเดือนละ 80,000 บาท   ส่วนน้ำที่ได้จะน้ำมาฉีดลงหลุมน้ำมันเพื่อให้เม็ดน้ำมันดิบละลายออกมาหมุนเวียนแบบนี้ไปจนกว่าน้ำมันดิบจะหมดหลุม 
 
        
                  น้ำมันดิบจาก PTT  EP1    มีมาตรฐานต่ำ    เมื่อส่งไปกลั่นที่โรงกลั่นบางจาก   จะได้น้ำมันเตา 60% ที่เหลือ 20% ได้น้ำมันดีเซล อีก 20% เป็นก๊าซโซลิน (เบนซิน) และน้ำมันเจ็ทอีกนิดหน่อย
 
                  ทีนี้ไปโรงไฟฟ้าชีวมวลกันต่อ   จากอู่ทองขับไปด่านช้าง 80 ก.ม ชมไร่อ้อยเพลินๆประมาณ1 ชั่วโมงก็มาถึง  โรงงานน้ำตาลมิตรผล การสร้างมูลค่าเพิ่มจาก“อ้อย” จากธุรกิจอ้อยและน้ำตาล ไปสู่ “พลังงานทดแทน”
       ซึ่งล้วนเป็นผลพลอยได้ (By-Product) จากพืชมหัศจรรย์ที่เรียกว่า “อ้อย” หีบน้ำอ้อยแล้ว จะสามารถนำมาผลิตเป็น “เอทานอล” โดยใช้กากน้ำตาล (โมลาส) เป็นวัตถุดิบ เมื่อนำเอทานอลมาผสมกับน้ำมันเบนซินในสัดส่วนที่เหมาะสม จะกลายเป็น “แก๊สโซฮอล์”  ชานอ้อยยังสามารถนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า ทดแทนเชื้อเพลิงจากฟอสซิส หรือที่เรียกกันติดปากว่า พลังงานทดแทน (Renewable Energy) โดยการสร้างโรงไฟฟ้าชีวมวล     ยังไม่หมดชานอ้อยมาผลิตเป็น “ปาร์ติเคิล บอร์ด” ได้อีก   ไม่มีส่วนไหนเหลือทิ้งเปล่าเลย 
 
 

ในโรงงานน้ำตาล
 
 
   
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
      อดคิดต่อไม่ได้ว่า  เมื่อเมืองไทยอันอุดมของเรายังมีพื้นที่ปลูกมากพอ   แค่หันมาวางแผน  สร้างความตระหนักรู้ให้จริงจัง   ทำไปที่เป้าหมายเดียวกัน  คือ  ลดการนำเข้าน้ำมันให้ได้  มีหรือที่เราจะต้องทนทุกข์กับการปรับราคาขายปลีกน้ำมันทุกวันแบบนี้      พูดแล้วก็อยากเดินมาทำงาน  ศุนันทวดี เติมน้ำมันแพงกว่าซื้อข้าวกินแล้วค่ะ

 

 

========================================================