Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 175,983
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,577
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 172,988
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,771
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,462
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,551
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,508
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,818
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,345
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,447
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,358
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,510
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,585
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,128
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,517
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,555
17 Industrial Provision co., ltd 39,223
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,373
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,297
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,621
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,439
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,851
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,220
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 30,957
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,581
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,517
27 P.D.S. Automation co.,ltd 22,946
28 AVERA CO., LTD. 22,586
29 เลิศบุศย์ 21,684
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,379
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,245
32 แมชชีนเทค 19,893
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,869
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,185
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,138
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,798
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,602
38 SAMWHA THAILAND 18,291
39 วอยก้า จำกัด 17,897
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,476
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,325
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,301
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,237
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,207
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,132
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,066
47 Systems integrator 16,710
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,629
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,454
50 Advanced Technology Equipment 16,442
24/03/2553 09:04 น. , อ่าน 22,525 ครั้ง
Bookmark and Share
Temperature Conversion Table
โดย : Admin

Celsius (° C) Fahrenheit (° F) Kelvin (K) "Absolute"

สูตร

° C = ( ° F - 32 ) 5 / 9

สูตร     ° F = (°C´9 / 5) + 32

K = ° C + 273.15

-273.15 -459.67 0
-200 -328 73.15
-180 -292 93.15
-160 -256 113.15
-140 -220 133.15
-120 -184 153.15
-100 -148 173.15
-80 -112 193.15
-60 -76 213.15
-40 -40 233.15
-20 -4 253.15
-17.77 0 255.372
0 32 273.15
5 41 278.15
10 50 283.15
15 59 288.15
20 68 293.15
25 77 298.15
30 86 303.15
35 95 308.15
40 104 313.15
45 113 318.15
50 122 323.15
55 131 328.15
60 140 333.15
65 149 338.15
70 158 343.15
75 167 348.15
80 176 353.15
85 185 358.15
90 194 363.15
95 203 368.15
100 212 373.15
105 221 378.15
110 230 383.15
115 239 378.15
120 248 393.15
140 284 413.15
160 320 433.15
180 356 453.15
200 392 473.15
250 482 532.15
300 572 573.15
350 662 623.15
400 752 673.15
450 842 723.15
500 932 773.15

 

สาระน่ารู้เกี่ยวกับอุณหภูมิเพิ่มเติม (จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี)
 

สูตรการแปลงอุณหภูมิ
แปลงจาก
ไปเป็น
สูตร
องศาฟาเรนไฮต์ องศาเซลเซียส °C = 59 (°F - 32)
องศาเซลเซียส องศาฟาเรนไฮต์ °F = (95*°C) + 32
เคลวิน องศาเซลเซียส °C = K - 273.15
องศาโรเมอร์ องศาเซลเซียส °C = °R × 1.25
องศาเซลเซียส องศาโรเมอร์ °R = °C × 0.8
องศาเซลเซียส เคลวิน K = °C + 273.15
เคลวิน องศาฟาเรนไฮต์ °F = K × 1.8 − 459.67
องศาฟาเรนไฮต์ เคลวิน K = (°F + 459.67) ÷ 1.8

 

องศาเซลเซียส


      องศาเซลเซียส (อังกฤษ: degree Celsius, สัญลักษณ์ °C) เป็นหน่วยวัดอุณหภูมิหน่วยหนึ่งในระบบเอสไอ กำหนดให้จุดเยือกแข็งของน้ำคือ 0 °C และจุดเดือดคือ 100 °C

       ปัจจุบันองศาเซลเซียสใช้กับแพร่หลายทั่วโลกในชีวิตประจำวัน จะยกเว้นก็มีสหรัฐอเมริกาและประเทศจาไมกาเท่านั้นที่นิยมใช้หน่วยองศาฟาเรนไฮต์ แต่ในประเทศดังกล่าว องศาเซลเซียสและเคลวินก็ใช้มากในด้านวิทยาศาสตร์

       นิยามขององศาเซลเซียสนิยามจากหน่วยเคลวิน โดยที่ขนาดของสเกลหน่วยองศาเซลเซียสจะเท่ากับของเคลวิน กำหนดให้อุณหภูมิที่จุดศูนย์องศาสัมบูรณ์มีค่าเท่ากับ -273.15 °C

 ประวัติ

       หน่วยนี้ตั้งตามชื่อของนาย แอนเดอร์ เซลเซียส (Anders Celsius มีชีวิตอยู่ระหว่าง ค.ศ. 1701 ถึง 1744) นักดาราศาสตร์ชาวสวีเดน เขาเป็นคนแรกที่เสนอระบบที่ใกล้เคียงกับระบบนี้ในปี พ.ศ. 2285 (ค.ศ. 1742) แต่แรกกำหนดให้อุณหภูมิจุดเยือกแข็งของน้ำคือ 0 องศา และจุดเดือดของน้ำคือ 100 องศาที่ระดับความดันบรรยากาศมาตรฐาน แต่ได้มีการสลับสเกลต่อมาหลังจากที่เซลเซียสเสียชีวิตไประยะหนึ่ง

ในปี พ.ศ. 2491 หน่วยนี้มีชื่อเรียกต่างกันสามแบบ ได้แก่

  • เซนติเกรด (centigrade)
  • องศาเซนเทสซิมัล (centesimal degree)
  • องศาเซลเซียส

       แต่นับจากนั้นมา ชื่อที่ถูกเลือกเป็นทางการคือ องศาเซลเซียส จากการประชุม General Conference on Weights and Measures ครั้งที่ 9 โดยมีจุดประสงค์เพื่อระลึกถึงเซสเซียส และเป็นการตัดปัญหาความสับสนที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้คำนำหน้า centi- กับระบบเอสไอ และจากการที่นิยามเดิมไม่เหมาะสมที่จะใช้เป็นมาตรฐานอย่างเป็นทางการ เนื่องจากอุณหภูมิขึ้นกับนิยามของความดันบรรยากาศมาตรฐาน ซึ่งความดันบรรยากาศมาตรฐานนี้ก็ขึ้นกับอุณหภูมิอีกทีหนึ่ง จึงกำหนดนิยามใหม่ให้อุณหภูมิ 0.01 °C ตรงกับจุดสามสถานะ (triple point) ของน้ำ และให้สเกลหนึ่งองศามีค่าเป็น 1/273.16 เท่าของผลต่างระหว่างอุณหภูมิที่จุดสามสถานะของน้ำกับจุดศูนย์องศาสัมบูรณ์ นิยามนี้ได้รับการยอมรับในการประชุม General Conference on Weights and Measures ครั้งที่ 10 เมื่อปี พ.ศ. 2497

 


องศาฟาเรนไฮต์

องศาฟาเรนไฮต์ คือชนิดสเกลค่าวัดอุณหภูมิชนิดหนึ่ง ที่ถูกตั้งชื่อตามนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน เกเบรียล ฟาเรนไฮต์ (1686-1736) โดยที่ค่าสเกลองศาฟาเรนไฮต์นี้ มีจุดเยือกแข็งอยู่ที่ 32 องศาฟาเรนไฮต์ โดยปกติจะเขียนว่า 32°F และมีจุดเดือดที่ 212 องศาฟาเรนไฮต์ โดยที่มีระยะห่างระหว่างจุดเยือกแข็งกับจุดเดือดของน้ำคือ 180 องศา โดยที่ 1 องศาในสเกลองศาฟาเรนไฮต์นี้ มีค่าเท่ากับ 5/9 ของ 1 เคลวิน (ซึ่งก็คือ 1 องศาเซลเซียส) และที่ลบ 40 องศาฟาเรนไฮต์เท่ากับติดลบ 40 องศาเซลเซียส


ในปัจจุบัน  สเกลค่าวัดอุณหภูมิองศาฟาเรนไฮต์นี้ ได้ถูกนำไปใช้ในมาตรวัดมาตรฐานของประเทศอังกฤษคู่กับหน่วยวัดอื่น ๆ เช่น ไมล์ ปอนด์ เมื่อนานมาแล้ว แต่ในปัจจุบันนั้น ประเทศอังกฤษได้หันมาใช้หน่วยต่าง ๆ ของระบบเอสไอ (SI) แทน ทำให้ได้มีการเปลี่ยนมาใช้สเกลค่าวัดอุณหภูมิเซลเซียสและเคลวินแทน

ประเทศที่มีการใช้หน่วยองศาฟาเรนไฮต์ในปัจจุบันได้แก่ประเทศที่ยังใช้หน่วยมาตรวัดมาตรฐานของอังกฤษเก่า ซึ่งได้แก่สหรัฐอเมริกา ฟิลิปปินส์ คอสตาริกา เปอร์โตริโก

 



เคลวิน

เคลวิน (อังกฤษ: kelvin, สัญลักษณ์: K) เป็นหน่วยวัดอุณหภูมิหนึ่ง และเป็นหน่วยพื้นฐานหนึ่งในเจ็ดของระบบเอสไอ นิยามให้เท่ากับ 1/273.16 เท่าของอุณหภูมิเทอร์โมไดนามิกของจุดสามสถานะของน้ำ เคลวินตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแต่นักฟิสิกส์และวิศวกรชาวอังกฤษ วิลเลียม ทอมสัน บารอนที่หนึ่งแห่ง เคลวิน (William Thomson, 1st Baron Kelvin) ซึ่งชื่อบรรดาศักดิ์นี้ตั้งตามชื่อ แม่น้ำเคลวิน อีกทีหนึ่ง แม่น้ำสายนี้ตัดผ่านมหาวิทยาลัยกลาสโกว์ สกอตแลนด์