Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 175,362
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,515
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 172,930
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,686
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,411
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,489
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,454
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,763
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,244
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,386
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,303
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,448
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,486
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,071
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,417
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,495
17 Industrial Provision co., ltd 39,160
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,319
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,239
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,566
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,383
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,799
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,155
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 30,902
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,520
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,459
27 P.D.S. Automation co.,ltd 22,888
28 AVERA CO., LTD. 22,534
29 เลิศบุศย์ 21,634
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,316
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,184
32 แมชชีนเทค 19,832
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,802
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,127
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,079
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,742
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,548
38 SAMWHA THAILAND 18,237
39 วอยก้า จำกัด 17,827
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,415
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,277
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,241
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,185
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,137
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,078
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,004
47 Systems integrator 16,655
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,575
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,397
50 Advanced Technology Equipment 16,380
17/01/2553 15:00 น. , อ่าน 9,779 ครั้ง
Bookmark and Share
ขั้นตอนการติดตั้ง การใช้งานและการซ่อมบำรุงรักษาคาปาซิเตอร์
โดย : Admin

  ขั้นตอนการติดตั้ง การใช้งานและการซ่อมบำรุงรักษาคาปาซิเตอร์


               ความปลอดภัย

                     เริ่มต้นด้วยความปลอดภัยเป็นอันดับแรก เนื่องจากคาปาซิเตอร์อุปกรณ์ที่ทำงาน Full Load ตลอดเวลา ก่อนการ
               ซ่อมบำรุงทุกครั้งควรปฏิบัติดังนี้

                     1. การติดตั้งและการซ่อมบำรุงต้องกระทำโดยผู้มีหน้าที่รู้และเข้าใจคาปาซิเตอร์ โดยอ้างถึงมาตรฐาน IEC 831

                     2. ปลดวงจรที่จ่ายไฟให้กับคาปาซิเตอร์ก่อนการซ่อมบำรุง ควรมีการปลดวงจรอื่นที่อาจทำให้มีกระแสไฟย้อนกลับ
                         มาสู่คาปาซิเตอร์ได้ด้วย

                     3. เมื่อปลดคาปาซิเตอร์แล้วจะต้องรออย่างน้อย 5 นาที   เพื่อให้คาปาซิเตอร์คายประจุไฟฟ้าผ่านดิสชาสรีซีสเตอร์            
                         จนแรงดันลดลงมาต่ำกว่า 50 V ซึ่งอาจวัดด้วยมิเตอร์แรงดันทำการลัดวงจรที่ขั้วทุกขั้วของคาปาซิเตอร์ด้วยสาย
                         ไฟที่มีฉนวน เพื่อให้แน่ใจว่าคาปาซิเตอร์คายประจุหมดแล้วจริงๆ ไม่ควรทำการลัดวงจรในขณะที่มีแรงดันค้าง
                         ในตัวคาปาซิเตอร์ หรือภายหลังการปลดคาปาซิเตอร์จากวงจรในทันทีเพราะอาจทำให้คาปาซิเตอร์เสียหาย และ
                         เกิดอันตรายได้

                      4. เริ่มทำทำการซ่อมบำรุงคาปาซิเตอร์

                  การติดตั้งคาปาซิเตอร์
                   
                           ตำแหน่งที่ติดตั้ง คาปาซิเตอร์ควรมีอากาศถ่ายเทได้ดี เนื่องจากคาปาวิเตอร์ถูกสร้างมาให้ทำงานในอุณหภูมิ
                        แวดล้อมจำกัด (ซึ่งอาจศึกษาได้จากคู่มือของผู้ผลิต) จึงจำเป็นต้องเลือกประเภทอุณหภูมิใช้งานของคาปาซิเตอร์
                        ให้เหมาะสม ดังเช่นมีประเภทอุณหภูมิใช้งาน -25/D (Temperature category -25/D) หมายความว่าสามารถใช้
                        งานได้อุณหภูมิต่ำสุด -25 องศาเซียลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 55 องศาเซียลเซียส ค่าอุณหภูมิเฉลี่ย 24 ชั่วโมงไม่เกิน
                        45 องศาเซียลเซียส ค่าอุณหภูมิเฉลี่ยตลอด 1 ปีไม่เกิน 35 องศาเซียลเซียส ส่วนแรงดันในบริเวณที่ติดตั้งคาปา
                        ซิเตอร์ต้องเป็นไปตามพิกัดของคาปาซิเตอร์ โดยมาตรฐาน IEC 831 ระบุว่าค่าคาปาซิเตอร์จะทนแรงดันเกินได้
                        ถึง 110 % ของแรงดันพิกัดแบบเป็นช่วงเวลา (8 ชม. ใน 1 วัน) การใช้งานคาปาซิเตอร์ที่ระดับเกินและอุณหภูมิ
                        ใช้งานสูงๆ ตลอดเวลา จะทำให้อายุการใช้งานของคาปาซิเตอร์สั้นลงอย่างมาก

                     การเข้าสายและการเลือกขนาดสายไฟ

                          สายไฟจะต้องมีขนาดไม่ต่ำกว่า 1.43 เท่าของกระแสพิกัดของคาปาซิเตอร์ ในกรณีที่มีการเดินสายแบบพิเศษ
                       เช่น มัดรวมสายไฟกันหลายเส้น ควรมีการปฏิบัติตามคำแนะนำของผู้ผลิตสายไฟในการเลือกสาย การเข้าสาย
                       ต้องทำให้แน่นโดยใช้แรงบิด (Torque) ตามที่ผู้ผลิตกำหนดควรมีการจัดตำแหน่งของสายและตัวประจุให้เหมาะ
                       สม เพื่อความปลอดภัย
                           ภายหลังการติดตั้งก่อนการเริ่มจ่ายไฟครั้งแรกควรตรวจสอบ
                           1. ความสะอาดอุปกรณ์
                           2.การเข้าสายต้องแน่น โดยใช้สายที่เหมาะสม
                           3.ระบบการต่อลงดิน

                            ภายหลังการจ่ายไฟคาปาซิเตอร์แล้วควรบันทึกค่ากระแสและแรงดันคาปาซิเตอร์ควรบันทึกค่ากระแสและ
                        แรงดันของคาปาซิเตอร์ กระแสควรไม่เกิน 130 % ของกระแสของพิกัด   และค่าPower ไม่ควรเกิน 130 % ของ
                        กำลังพิกัด และแรงดันไม่ควรเกินแรงดันพิกัดของคาปาซิเตอร์

                      การซ่อมบำรุงคาปาซิเตอร์

                          1. ปฏิบัติตามกฏความปลอดภัยก่อนการซ่อมบำรุงคาปาซิเตอร์

                          2.การบำรุงรักษาประจำปีจะต้องตรวจสอบดังนี้
                             2.1 ทำความสะอาดฝุ่นและคราบสกปรกทุกๆชิ้นส่วนของอุปกรณ์
                             2.2 ตรวจสอบความแน่นของจุดต่อสายไฟทุกจุด
                             2.3 ตรวจสอบสภาพของตัวคายประจุ
                             2.4 ตวรจอุณหภูมิโดยรอบ

                          3. นำคาปาซิเตอร์เข้าสู่ระบบและวัดกระแสของคาปาซิเตอร์ด้วย คลิป-ออน มิเตอร์ (Clip-on Meter) และวัด
                              ค่า kVAR เอาท์พุทของคาปาซิเตอร์ ถ้าค่าเอาท์พุทลดลงจาก Nameplate มากกว่า 10 %  แสดงว่าคาปาซิ
                              เตอร์เริ่มเสื่อมสภาพการใช้งานแล้ว ซึ่งอาจมีหลายสาเหตุ เช่น เป็นการเสื่อมสภาพการใช้งานตามปกติ
                              หรือเสื่อมสภาพเร็วกว่าปกติ เนื่องจากอุณหภูมิใช้งานสูงเกินไป แรงดันระบบสูงเกินไปหรือมีฮาร์มอนิก
                              ในระบบไฟฟ้า หากพบว่าคาปาซิเตอร์เสื่อมสภาพเร็วกว่าปกติ ควรหาสาเหตุให้พบแล้วทำการแก้ไขตาม
                              สาเหตุต่อไป

               เอกสารอ้างอิง
               วารสาร คุณภาพไฟฟ้า Vol7 / July - September 2001 ; ABB LIMITED


             (ขอขอบคุณ ชาวสมาชิก 9engineer  คุณมาโนชน์ ที่กรุณาส่งข้อมูลมาเพื่อเป็นความรู้เผยแพร่)


 

========================================================