Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 175,987
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,581
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 172,991
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,785
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,466
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,553
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,510
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,818
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,354
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,450
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,362
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,513
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,590
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,131
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,522
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,555
17 Industrial Provision co., ltd 39,225
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,377
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,298
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,624
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,446
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,853
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,221
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 30,960
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,584
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,517
27 P.D.S. Automation co.,ltd 22,952
28 AVERA CO., LTD. 22,587
29 เลิศบุศย์ 21,685
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,385
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,247
32 แมชชีนเทค 19,893
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,870
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,186
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,140
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,799
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,603
38 SAMWHA THAILAND 18,293
39 วอยก้า จำกัด 17,902
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,480
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,331
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,304
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,241
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,216
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,135
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,070
47 Systems integrator 16,713
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,631
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,456
50 Advanced Technology Equipment 16,444
08/09/2552 21:02 น. , อ่าน 6,250 ครั้ง
Bookmark and Share
Harmonic Assessment
โดย : Admin

 

การประเมินระดับฮาร์มอนิก
Harmonic Assessment
                                                                                                                                  sakchai@pea.or.th

                      โดยทั่วไปในการพิจารณาค่าฮาร์มอนิกที่จุดต่อร่วมว่าอยู่ในระดับใดสามารถทำได้โดยวิธีการวัด แต่ในบางครั้ง
         อาจจะไม่สามารถทำการวัดได้ เช่นในกรณีของผู้ใช้ไฟฟ้ารายใหม่ที่ยังไม่มีการติดตั้งอุปกรณ์ในระบบ จึงมีบางมาตรฐาน
         แนะนำแนวทางในการประเมินระดับฮาร์มอนิกขั้นต้นดังนี้
       
         1. โดยการกำหนดขนาดและชนิดของโหลดฮาร์มอนิกขนาดเล็ก ดังเช่น มาตรฐาน G.5/3-1976 [1 ] และ PRC-01-PQG-
             1998 [2]

         2. โดยการเปรียบเทียบกับขนาดของโหลดกับค่าพิกัดกำลังลัดวงจรของผู้ใช้ไฟขนาดเล็กที่จุดต่อร่วม ซึ่งมีการประเมิน
              ออกเป็น 2 ขั้นตอนตามมาตรฐาน IEC-1000-3-6 [ 3 ] และมาตรฐาน P519A/D5 [ 4 ] คือ

 


                  ดังตัวอย่างการประเมินผู้ใช้ไฟฟ้า ของ กฟภ.รายหนึ่ง ใช้ไฟฟ้าที่ระดับแรงดัน 400/230 V มีค่าพิกัดกำลังลัดวงจร
           ที่จุดต่อร่วมเท่ากับ 10 MVA มีการใช้โหลดคอนเวอร์เตอร์ ชนิด 6 พัลซ์ ที่มี Inductor ขนาดใหญ่เพื่อปรับค่ากระแสให้
           เรียบ (ดังตารางที่1) ขนาดเท่ากับ 12 kW และมีการใช้โหลดเชิงเส้นเท่ากับ 8 kW 

 


ตารางที่1 ค่า weight factor ของโหลดฮาร์มอนิกแต่ละตัว [4 ]


           ในกรณีระบบไฟฟ้ามีฮาร์มอนิกอยู่ในระบบ ถ้าไม่เกินค่าจำกัดแรงดันมาตรฐานฮาร์มอนิกก็จะไม่เกิดผลกระทบต่ออุปกรณ์
       ในระบบไฟฟ้า ผู้เขียนได้ทำการประเมินโดยการหาค่า  %THD(V)    จากขนาดโหลดฮาร์มอนิกและค่าพิกัดกำลังลัดวงจร โดย
         การหาค่า % THD(V) เปรียบเทียบค่า Short - Circuit Ratio (SCR) [ 5 ]   
   
                                                                             SCR =MVAsc / MVAh

                                                               MVAsc ; ค่าพิกัดกำลังลัดวงจร

                                                               MVA h ; ค่าขนาดของโหลดฮาร์มอนิก

          ซึ่งทำให้เราสะดวกต่อการทราบค่า %THDV ของโหลดดังกล่าวจากการประเมินเพื่อเป็นข้อพิจารณาในกรณีที่ยังไม่มีการ
       ติดตั้งโหลด หรือในกรณีที่ไม่สามารถทำการวัดได้

            ดังตัวอย่างประเมินการใช้โหลดคอนเวอร์เตอร์ ชนิด 6 พัลซ์และ 12 พัลซ์ จะได้ค่าตามกราฟความสัมพันธ์ระหว่างค่า
        % THD(V) กับค่า SCR ของโหลดคอนเวอร์เตอร์ชนิด 6 พัลซ์และ 12 พัลซ์ ดังรูปที่ 1 ทำให้ทราบถึงระดับฮาร์มอนิกที่อยู่
        ในระบบ เมื่อเรารู้ค่าขนาดของโหลดคอนเวอร์เตอร์และค่าพิกัดกำลังลัดวงจรของระบบ   เช่นกรณีโหลดคอนเวอร์เตอร์
        ชนิด 6 พัลซ์ มีค่า % THDV มากกว่า 5% ถ้าค่า SCR น้อยกว่า 45 และสำหรับโหลดคอนเวอร์เตอร์ชนิด12 พัลซ์    ถ้าค่า
         SCR น้อยกว่า 29 อาจจะทำ ให้อุปกรณ์ในระบบนั้นเกิดปัญหาฮาร์มอนิกได้

 


                          รูปที่ 1. กราฟความสัมพันธ์ค่า %THDV กับค่า SCR ของโหลดคอนเวอร์เตอร์ชนิด 6 พัลซ์ และ 12 พัลซ์
          และจากตัวอย่างการประเมินในข้อที่ 2 ของโหลดคอนเวอร์เตอร์ ชนิด 6 พัลซ์ขนาด 12 kW ที่มีค่าพิกัดกำลังลัดวงจร
      ที่จุดต่อร่วม (PCC) เท่ากับ 10 MVA ทำให้เราทราบค่า % THD(V) มีค่าเท่ากับ     0.175    ของการใช้โหลดดังกล่าวจาก
     การประเมิน ด้วยวิธีการนี้ ซึ่งพบว่าการประเมินตามมาตรฐาน IEC-1000-3-6 และ P519A/D5 (ในข้อ2)    นั้นยอมให้ค่า
      % THD(V)  ในระบบ เกิดขึ้นมีค่าน้อยมาก


         จากตัวอย่างแลัวิธีการประเมินฮาร์มอนิกที่กล่าวมา คงทำให้สามารถตรวจสอบระดับฮาร์มอนิกในระบบไฟฟ้าท่านได้ใน
      เบื้อง ต้น ก่อนที่จะทำการวัดจริง ซึ่งอาจต้องเสียค่าใช้จ่ายให้กับบริษัทที่ปรึกษาที่เข้ามาตรวจวัด แต่ถ่าท่านเป็นผู้ใช้ไฟฟ้า
     ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมีบริการตรวจวัดโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายใดๆ

                                                            เบอร์ที่ติดต่อโดยตรง กองวิจัย 0 2590 5576-7

      เอกสารอ้างอิง
      
       1. Engineering Recommendation G.5/3 September 1976 The Electricity Council Chief Engineer
           Conference "Limits for Harmonics in The United Kingdom Electricity Supply System"
       2. PRC-PQG-01-1998 ข้อกำหนดกฎเกณฑ์ฮาร์มอนิกเกี่ยวกับไฟฟ้าประเภทธุรกิจและอุตสาหกรรม
            "คณะทำงานศึกษา และกำหนดค่าที่เหมาะสมของ Power Quality"
       3. IEC 1000-3-6 Assessment of emission limit for distoring loads in MV and HV power system
       4. P519A/D5Guide for Applying Harmonic Limits on Power System
        5.IEEE Std. 141-1993 , IEEE Recommended Practice for Electric Power Distribution for Industrial Plants


 


 

ขอขอบคุณแหล่งที่มาของบทความและผู้ที่ได้ร่วมเผยแพร่และมอบบทความนี้แก่นายเอ็นจิเนียร์
 

 

========================================================